7


มนุษยสัมพันธ์
    เทคนิคที่ใช้ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีมีใช้เทคนิคอะไรบ้าง
คำสำคัญ (Tags): #kpru
หมายเลขบันทึก: 44550เขียนเมื่อ 13 สิงหาคม 2006 13:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:37 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)
โอเคค่ะน้องก็น่ารักเหมือนกันจ๊ะ

อาจารย์ค่ะตอบลงในนี้หรือค่ะ

หรือว่าทำใส่กระดาษส่ง

  • ดีด voice of judgement ออกไป (จาก ตำราของ Peter Senge)
  • หรือ ใช้ Transactional Analysis  คือ  You are OK, I am OK
  • หรือ  อย่าเห็นใครโง่หรือฉลาดกว่าเรา  (จากพระไตรปิฎก)

 

ทั้งสามข้อ   คือ หลักการเดียวกัน   ไม่มีตัวกู ของกู   อะไรๆก็ง่ายไปหมดครับ

ตอบไงดี ละนี้

นายณัฐพล แย้มเจริญ                                                       โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม    รหัส 495330108                                                                             ตอบ  =                                                                                                     

        เอาใจเขามาใส่ใจเราดีที่สุดครับ เพราะจะทำให้เราได้เข้าใจถึงจิตใจของอีกฝ่ายหนึ่งได้ จะทำให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทางด้านมนุษยสัมพันธ์ที่ดีก็จะตามมาครับ 
        ถ้าเราต้องการให้เขาดีกับเรา เราก็ต้องดีกับเขาก่อนครับ แต่ก็ยังมีคนอีกจำนวนมากทีเดียว ที่ไม่ได้คิดในลักษณะเช่นนี้ แต่กลับคิดตรงกันข้ามคือ คอยหาผลประโยชน์ให้ตนเอง ใครจะเป็นยังไงหรืออะไร ฉันไม่สน ขอให้ฉันได้ในสิ่งที่ฉันต้องการก็พอแล้ว ถ้าเป็นอย่างนี้ต้องพิจารณาให้ดีนะครับ 

เทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์
- ต้องมีความจริงใจ
- ต้องไม่กระทำการใด ๆในเวลาโกรธ
- ต้องไม่บั่นทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ต้องเป็นผู้พิสูจน์ความจริง
- ต้องมีการตักเตือนล่วงหน้า
- ต้องไม่ลงโทษรุนแรง
- ต้องมีความเสมอภาค
- ต้องมองปัญหาหลายแง่หลายมุม
- ต้องไม่ถอยถ้าเป็นฝ่ายถูก
- ต้องไม่ปล่อยให้วินัยกลายเป็นเรื่องส่วนตัว

................................................................................................................

ความหมาย การที่เราจะสามารถจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ให้ประสบผลสำเร็จได้นั้น เราควรจะต้องเรียนรู้ถึงกระบวนการสร้างมนุษยสัมพันธ์ของคนเราก่อนว่ามีรูปแบบและลักษณะใด เพื่อเป็นพื้นฐานของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์อันเป็นผลต่อการพัฒนาบุคลากร องค์กร หรือการอบรมสัมมนา ความหมายและการสร้างมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ คือ การติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคลในสังคม ทั้งที่เป็นส่วนตัวและที่เกี่ยวข้องกับงาน ทั้งที่เป็นส่วนตัวและที่เกี่ยวข้องกับงาน ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยมีเป้าหมายสุดท้ายเพื่อให้ตนเองเป็นสุข ผู้อื่นเป็นสุข และสังคมมีประสิทธิภาพ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด
นายณัฐพล แย้มเจริญ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม รหัส 495330108 ตอบ เอาใจเขามาใส่ใจเราดีที่สุดครับ เพราะจะทำให้เราได้เข้าใจถึงจิตใจของอีกฝ่ายหนึ่งได้ จะทำให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการทางด้านมนุษยสัมพันธ์ที่ดีก็จะตามมาครับ ถ้าเราต้องการให้เขาดีกับเรา เราก็ต้องดีกับเขาก่อนครับ แต่ก็ยังมีคนอีกจำนวนมากทีเดียว ที่ไม่ได้คิดในลักษณะเช่นนี้ แต่กลับคิดตรงกันข้ามคือ คอยหาผลประโยชน์ให้ตนเอง ใครจะเป็นยังไงหรืออะไร ฉันไม่สน ขอให้ฉันได้ในสิ่งที่ฉันต้องการก็พอแล้ว ถ้าเป็นอย่างนี้ต้องพิจารณาให้ดีนะครับ เทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์ - ต้องมีความจริงใจ - ต้องไม่กระทำการใด ๆในเวลาโกรธ - ต้องไม่บั่นทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ - ต้องเป็นผู้พิสูจน์ความจริง - ต้องมีการตักเตือนล่วงหน้า - ต้องไม่ลงโทษรุนแรง - ต้องมีความเสมอภาค - ต้องมองปัญหาหลายแง่หลายมุม - ต้องไม่ถอยถ้าเป็นฝ่ายถูก - ต้องไม่ปล่อยให้วินัยกลายเป็นเรื่องส่วนตัว ................................................................................................................
คนที่พี่สุภรัตน์ก็รู้ว่าใคร
  • พี่สาวคนสวยขออภัยเป็นอย่างสูงที่ไม่ได้คุยต่อเนื่องในวันนั้นค่ะ ไปได้สวยทีเดียวค่ะการบ้านชิ้นี้
  •  ดูเหมือนว่าพี่สาวของเราจะเอา password ให้กับนักศึกษานะคะ ซึ่งอาจไม่ต้องก็ได้ค่ะ แค่ให้เค้าเข้ามาเขียนข้อความในช่อง "ข้อคิดเห็น" ก็เพียงพอค่ะ
  • น้องสาวก็เอาบ้างค่ะ รวมพล 4924303 แล้วเรามาแลกเปลี่ยนความรู้กันนะคะ

ขอบพระคุณค่ะพี่สาวคนสวย วันนี้จะโทรไปสารภาพบาปจ้ะ

(นางสาวนิศากร  นกน้อย 491330516 )

ความหมาย การที่เราจะสามารถจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ให้ประสบผลสำเร็จได้นั้น เราควรจะต้องเรียนรู้ถึงกระบวนการสร้างมนุษยสัมพันธ์ของคนเราก่อนว่ามีรูปแบบและลักษณะใด เพื่อเป็นพื้นฐานของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์อันเป็นผลต่อการพัฒนาบุคลากร องค์กร หรือการอบรมสัมมนา ความหมายและการสร้างมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ คือ การติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคลในสังคม ทั้งที่เป็นส่วนตัวและที่เกี่ยวข้องกับงาน ทั้งที่เป็นส่วนตัวและที่เกี่ยวข้องกับงาน ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยมีเป้าหมายสุดท้ายเพื่อให้ตนเองเป็นสุข ผู้อื่นเป็นสุข และสังคมมีประสิทธิภาพ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด

(นายมาโนช  ชูวงค์  491330517คอมฯปี3) 

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง  ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร  ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม   ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง  ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด

 (นางสาวเมฆนภา  โดรณ 491330513  คอมฯปี3)

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง  ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร  ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม   ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง  ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด

(นางสาวนิศากร  นกน้อย 491330516  คอมฯปี3) 

 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ทำได้โดยการ 1.ศึกษาตนเอง และผู้อื่น ต้องใจกว้างสำรวจตนเอง พบข้อบกพร่องแล้วต้องยอมรับตนเอง และตั้งใจที่จะปรับปรุงพฤติกรรมที่ไม่สมควรของตนเอง ศึกษาผู้อื่นว่านิสัยใจคออย่างไร ชอบอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร (ถ้าจำเป็นต้องไปสัมพันธ์ด้วย จะยอมรับข้อบกพร่องของเขาได้ไหม ถ้าไม่ได้จะทำอย่างไร) 2.แก้ไขปรับปรุงตนเอง เมื่อพบข้อบกพร่องแล้ว ต้องตั้งใจแก้ไข อาจจะศึกษาจากตำราต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงตนเอง 3.ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีและสังคม ค่านิยมในสังคม 4.ศึกษาหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 5.นำหลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ไปใช้จริง  ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2.เป็นกิจกรรมที่ให้กลุ่มรู้วิธีแก้ไขปัญหา ยอมรับพัฒนาตนและรับรู้ตนเอง 3.เป็นการเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม กระตุ้นในบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ในสังคม 4.เป็นการใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นแนวทางให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร  ลักษณะกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.การสร้างความคุ้นเคย 2.การทำงานเป็นทีม 3.การสังเกตพฤติกรรม 4.การแสดงบทบาท 5.การเล่นเกม 6.การฝึก ฟัง-คิด-พูด 7.การบริหารงานกลุ่ม   ลักษณะผู้นำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.การจัดกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้นำกิจกรรมควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2.รู้จักการวางแผน และการเตรียมการ เพื่อดำเนินกิจกรรมละลายพฤติกรรม 3.เป็นบุคคลที่มนุษยสัมพันธ์ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี 4.มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และมีความกระตือรือร้น 5.เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง 6.ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความเห็นของผู้อื่น 7.สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 8.ใช้คำพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยมีเทคนิคในการพูดกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม 9.ให้ความช่วยเหลือแนะนำ และสังเกตกิจกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดำเนินกิจกรรมไปได้ด้วยดี 10.สรุปปัญหาได้ชัดเจนและจับประเด็นใจความได้ถูกต้อง  ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2.การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3.สร้างบรรยากาศการเรียนให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอนและสามารถเรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4.เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5.ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใจกัน ลดการขัดแย้ง 6.ช่วยส่งเสริมให้การทำงานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย และได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่ประสิทธิภาพ 8.ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและผ่อนคลาย ความตึงเครียด
นายวีระพล ฮะทะโชติ

ไม่รู้เรื่องเลย

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท