นิเทศภายใน


กิจกรรมนิเทศภายในโรงเรียนช่วยพัฒนาครูตามความต้องการ/จำเป็น
รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียน
โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม  อำเภอธวัชบุรี  จังหวัดร้อยเอ็ด
   ประจำปีการศึกษา  ๒๕๕๓
………………………………………………….
จุดมุ่งหมายการประเมิน
จุดมุ่งหมายทั่วไป
เพื่อให้คณะดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องได้ทราบถึงการทำงานในงานต่าง ๆ ของ
การนิเทศภายในโรงเรียน  โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม  อำเภอธวัชบุรี  จังหวัดร้อยเอ็ด  ประจำปีการศึกษา  ๒๕๕๓  โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม  อำเภอธวัชบุรี  จังหวัดร้อยเอ็ด  ว่ามีความเหมาะสมเพียงไร  เพื่อทราบส่วนที่ดี  และส่วนที่บกพร่องเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
จุดมุงหมายเฉพาะ
            เพื่อประเมินความเหมาะสมในการดำเนินงานและนำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น
 
วิธีการประเมิน
    คณะกรรมการประเมินได้สร้างแบบสอบถามขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการการนิเทศภายในโรงเรียน     ประจำปีการศึกษา  ๒๕๕๓  โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม  อำเภอธวัชบุรี  จังหวัดร้อยเอ็ด    โดยสร้างแบบสอบถามขึ้นจำนวน  ๑๓  รายการ  เป็นแบบสอบถามที่มีระดับความคิดเห็น  ๔  ระดับ  คือ  มากที่สุด  มาก  น้อย  ไม่พอใจเลย  และใช้กลุ่มตัวอย่างจาก  ครูโรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม    จำนวน  ๓๒  คน 
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
   ข้อมูลจากแบบสอบถามทั้ง   ๑๓  รายการ  และระดับความคิดเห็น  ๔  ระดับ  นั้นนำมาคิดค่าร้อยละเฉพาะที่มีความคิดเห็นแต่ละรายการที่มีค่ามากที่สุด
 
 
 แบบประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการนิเทศภายในโรงเรียน
โรงเรียนธวัชบุรีวิทยาคม  อำเภอธวัชบุรี  จังหวัดร้อยเอ็ด
   ประจำปีการศึกษา  ๒๕๕๓
ดังตารางต่อไปนี้
                แสดงค่าร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างครู  นักเรียน  ๓๒  คน
แบบประเมินความพึงพอใจของครูที่มีต่อการการนิเทศภายในโรงเรียน
คำชี้แจง                ๑.     แบบประเมินความพึงพอใจของครู  ใช้เมื่อสิ้นสุดกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน
๒.     ครู  (ผู้รับการนิเทศ)  เป็นผู้ประเมิน  โดยกาเครื่องหมาย  /  ที่ตรงกับระดับความพึงพอใจที่ได้รับ
๓.     ระดับความพึงพอใจมี  ๔  ระดับ  คือ  มากที่สุด  มาก  น้อย  ไม่พอใจเลย
 
 
ที่
 
รายการ
ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด
มาก
น้อย
ไม่พอใจเลย
กิจกรรมนิเทศภายในโรงเรียนช่วยพัฒนาครูตามความต้องการ/จำเป็น
๒๕.๐๐
๕๖.๒๕
๑๘.๗๕
๐.๐๐
ความเหมาะสมของกิจกรรมนิเทศ
-          การเยี่ยมชั้นเรียน
-          การศึกษาดูงาน
-          การประชุมทางวิชาการ
-          การให้คำปรึกษาแนะนำ
 
๑๒.๕๐
๑๘.๗๕
๓๗.๕๐
๑๒.๕๐
 
๔๖.๘๘
๗๕.๐๐
๕๓.๑๓
๖๘.๗๕
 
๔๐.๖๓
๖.๒๕
๙.๓๘
๑๘.๗๕
 
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
บทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรมการนิเทศ
๑๒.๕๐
๖๒.๕๐
๒๕.๐๐
๐.๐๐
บรรยากาศการนิเทศ
๑๘.๗๕
๖๕.๖๓
๑๕.๖๓
๐.๐๐
การมีส่วนร่วมของคณะครู
๒๑.๘๘
๔๓.๗๕
๓๔.๓๘
๐.๐๐
ระยะเวลาในการดำเนินการ
๖.๒๕
๕๙.๓๘
๓๔.๓๘
๐.๐๐
บทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศ
๑๕.๖๓
๖๕.๖๓
๑๘.๗๕
๐.๐๐
 ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ
๖.๒๕
๖๕.๖๓
๒๕.๐๐
๓.๑๓
ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ
๖.๒๕
๕๖.๒๕
๓๗.๕๐
๐.๐๐
๑๐
นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น
๓.๑๓
๖๒.๕๐
๐.๐๐
๐.๐๐
 
 
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ             ๑.   
      ๒.   ครูที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมายให้ทำไม่ปฏิบัติงาน  ขอให้นำปัญหาและข้อเสนอแนะในส่วนที่เป็นปัญหาซึ่งฝ่ายบริหารทราบดี  ขอให้นำไปแก้ปัญหาอย่างจริงจัง  เพราะส่วนใหญ่ปัญหาที่เกิดขึ้นจากครูคนเดิม  แต่ก็ไม่เห็นครูคนนี้จะกระตือรือร้นที่จะปรับปรุงพัฒนา  เพราะไม่ทำก็ไม่มีปัญหาใครอยากทำก็ทำไป  ปัญหาเมื่อไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาก็จะเกิดผลกระทบไปด้วย
 
 
 จากตาราง  แสดงว่า 
๑.     กิจกรรมนิเทศภายในโรงเรียนช่วยพัฒนาครูตามความต้องการ/จำเป็น 
ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
๒. ความเหมาะสมของกิจกรรมนิเทศ
    ๒.๑   การเยี่ยมชั้นเรียน             ความคิดเห็นอยู่ในระดับ    มาก
   ๒.๒  การศึกษาดูงาน               ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
   ๒.๓  การประชุมทางวิชาการ      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
   ๒.๔  การให้คำปรึกษาแนะนำ    ความคิดเห็นอยู่ในระดับ   มาก
๓.   บทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรมการนิเทศ      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
.     บรรยากาศการนิเทศ           ความคิดเห็นอยู่ในระดับ    มาก
๕.   การมีส่วนร่วมของคณะครู      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ    มาก 
๖.   ระยะเวลาในการดำเนินการ      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
๗.   บทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศ      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ   มาก
๘.     ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ      ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
๙.      ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ     ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
๑๐.  นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น         ความคิดเห็นอยู่ในระดับ  มาก
 
ระดับความคิดเห็นมาก  
 ๑.  กิจกรรมนิเทศภายในโรงเรียนช่วยพัฒนาครูตามความต้องการ/จำเป็น   
๒.  ความเหมาะสมของกิจกรรมนิเทศ
๒.๑   การเยี่ยมชั้นเรียน                                                    
๒.๒  การศึกษาดูงาน                                                           
๒.๓  การประชุมทางวิชาการ                                                
๒.๔  การให้คำปรึกษาแนะนำ                                                 
๓.   บทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรมการนิเทศ       
.   บรรยากาศการนิเทศ                                                                   
๕.   การมีส่วนร่วมของคณะครู                                                      
 ๖.   ระยะเวลาในการดำเนินการ                                                                     
 ๗.   บทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศ                                                         
๘.      ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ                
๙.    ความเหมาะสมของสื่อและเครื่องมือนิเทศ                
 ๑๐.  นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น
 
 
 
หมายเลขบันทึก: 435545เขียนเมื่อ 16 เมษายน 2011 18:10 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)
  • สวัสดีค่ะครูอิ๊ด
  • การนิเทศภายใน เป็นเรื่องทีสำคัญ
  • หากดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบ
  • จะส่งผลถึงการพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนการสอนของครู
  •  และอาจจะไม่ต้องมีการนิเทศภายนอก
  • ......"เขตปลอดศึกษานิเทศก์"....

ขอบคุณนะคะคุณเอื้องแซะสำหรับข้อเสนอแนะดีๆ

 

สวัสดีค่ะครูอิ๊ด

นำดอกไม้แวะมาขอบคุณที่นำบทเพลงไปฝากในบันทึกนะคะ...

เป็นกำลังใจให้ผ่านการประเมินไปได้ด้วยดีค่ะ

สวัสดึครับครูอี๊ด

สงกรานต์ขับรถผ่านธวัชบุรีกลับบ้าบด้วยละครับ....

บ้านท่านคงอยู่ที่ยโสธร

วันหน้ามีโอกาสผ่านร้อยเอ็ดเชิญแวะนะคะยินดีต้อนรับค่ะ

มาเยี่ยมครูนิเทศภายในนะครับ

และเอาภาพริมทางรถไฟจาก "ชีวิตบนรถไฟ" 

เขียนตอนเดินทางกลับบ้านเมืองกาญจน์

นั่งไปมองไปฟังเขาคุยกัน อ่านหนังสือบ้าง บันทึกบ้าง

ได้ 1 บทกวีครับ

http://gotoknow.org/blog/ruamrosbotkawi/435662

สวัสดีค่ะิิิคุณครูอี๊ด

  • ยินดีที่ได้รู้จัก  .....  เพื่อนร่วมอาชีพและร่วมชะตากรรมเดียวกัน
  • บรรยากาศวิชาการ  แต่เบาและหวานลงด้วยเพลง
  • ขอบคุณค่ะ สำหรับสรุปรายงานที่เป็นแบบอย่างได้
  • เอาปกนิทานมาฝาก   คลายเครียดก่อนเปิดเทอม
  • สนใจโหลดรูปเล่มเต็มได้ที่บันทึกครูนะคะ

สวัสดีค่ะิิิ   คุณครูอี๊ด

  • ยินดีที่ได้รู้จัก  .....  เพื่อนร่วมอาชีพและร่วมชะตากรรมเดียวกัน
  • บรรยากาศวิชาการ  แต่เบาและหวานลงด้วยเพลง
  • ขอบคุณค่ะ สำหรับสรุปรายงานที่เป็นแบบอย่างได้
  • เอาปกนิทานมาฝาก   คลายเครียดก่อนเปิดเทอม
  • สนใจโหลดรูปเล่มเต็มได้ที่บันทึกครูนะคะ

 

ขอบคุณมากนะคะคุณครูอัมพร สำหรับนิทานเรื่องสามผู้วิเศษ

สวัสดีค่ะ ครูอิ๊ด

  • มาอ่านสรุปผลการประเมินความพึงพอใจนิเทศภายใน
  •  ครูดาหลาก็เตรียมสรุปผลมาตรฐานที่ 2 อยู่ค่ะ
  • ขอบคุณที่มากระตุ้นให้ลงมือทำต่อได้แล้ว
  •  พรุ่งนี้ไปเตรียมเปิดเรียนแล้วค่ะ

                            ขอบคุณที่ไปแวะทักทายนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท