KM ที่รัก ตอนที่ 38 "การจัดการศึกษาของชุมชนชาวนา (ฉบับ พ่อทัศน์ กระยอม)


กินดี อยู่อุ่น นอนอิ่ม
การจัดการศึกษาของชุมชนชาวนา(ฉบับ พ่อทัศน์ กระยอม ) 1. คัดเลือกคนที่เคยทำและมีใจรักไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข 2. อบรมที่ศูนย์เรียนรู้เดือนละ 4 ครั้ง วิชาที่เรียน วิชารักต้นไม้ วิชารักดิน วิชารักน้ำ วิชารักสัตว์ 3. มีเครือข่ายชาวบ้าน สามารถจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มเติมเก็บแนวคิด วิชาการพึ่งตนเอง - ศึกษาดูงานในกลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน - กลับมาปฏิบัติจริงในพื้นที่ตัวเอง - ขยายเครือข่าย(ในกลุ่มเป้าหมายที่สนใจ) 4. ใช้งานวิจัยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ หัวข้อวิจัยมาจากปัญหาของการปฏิบัติจริงในพื้นที่ตัวเอง 5. ใช้เกษตรกรต้นแบบเป็นตัวขยาย โดยเกษตรกรต้นแบบ 1 คนต่อเป้าหมาย 10 คน และ 10 คนไปขยายต่อเนื่องเป็นทวีคูณ การเปรียบเทียบการเรียนการสอนระบบ การเรียนในระบบ(ในโรงเรียน) การเรียนนอกระบบ(นอกโรงเรียน) 1.เรียนวิชาการหางานทำ 1.เรียนวิธีสร้างงาน 2.เรียนเป็นเสี่ยวเป็นเกลอ 2.เรียนเป็นเจ้าสัว 3.เรียนวิชากิจกรรม 3.เรียนวิชากิจการ 4.เรียนวิชาการ 4.เรียนวิชาเกิน 5.เรียนเรื่องไกลตัว 5.เรียนเรื่องใกล้ตัว 6.เรียนให้รู้รัก 6.เรียนให้รู้จริง 7.เรียนภาคทฤษฎี 7.เรียนภาคปฏิบัติ 8.เรียนจากท่องตำรา 8.เรียนแบบตำตาตำใจ 9.เรียนให้พึ่งคนอื่น 9.เรียนให้พึ่งตนเองได้ 10.เรียนจากของปลอม 10.เรียนจากของจริง 11.เรียนตามขั้นตอน 11.เรียนแบบเชื่อมโยง 12.เรียนกับครู 12.เรียนกับสภาพแวดล้อม 13.เรียนตามหลักสูตร 13.เรียนตามศักยภาพ 14.ประเมินผลด้วยการสอบ 14.ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน คำสำคัญ “ปอมา หัวนาแปน” “อ้อยมาประชาน้ำตาร่วง" “มันมา ป่าหมด”
หมายเลขบันทึก: 43233เขียนเมื่อ 7 สิงหาคม 2006 22:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 เมษายน 2012 21:01 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท