ปัจจัยทางชีววิทยา


ชีวิตคืออะไร

ปัจจัยทางชีววิทยา

ชีวิตคืออะไร : ระบบของอวัยวะที่มีกลไกสลับซับซ้อนมีการทำงานได้อย่างสัดส่วนสมดุลย์กัน

กลไกทางชีววิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม มี 3 กลไก คือ

1.กลไกที่ทำหน้าที่รับสัมผัส (RECEIVING MECHANISM)

2.กลไกที่ทำหน้าที่เชื่อมโยง (CONNECTING MECHAISM )

3.กลไกที่ทำหน้าที่ตอบโต้ (REACTING MECHAISM)

กลไกที่ทำหน้าที่รับสัมผัส

: การสัมผัส (SENSATION) : การที่สิ่งเร้ามากระทบประสาทสัมผัสที่อยู่ตามอวัยวะสัมผัสต่างๆ ของร่างกาย

อวัยวะที่ทำหน้าที่รับสัมผัส

1.อวัยวะที่ทำหน้าที่รับสัมผัสสิ่งเร้าจากภายนอกร่างกาย (EXTEROCEPTORS)

- ตา

- หู

-จมูก

- ลิ้น

-ผิวหนัง

2.การรับสัมผัสสิ่งเร้าภายในร่างกาย

-สัมผัสไคเนสเธซีส ( KINESTHESIS) การรับสัมผัสจะอาศัยประสาทในกล้ามเนื้อ

เอ็น ข้อต่อ เรียกว่า กล้ามเนื้อสัมผัส

-สัมผัสการทรงตัว(VESTIBULAR SENSE)
-อวัยวะรับสัมผัสอยู่ในช่องหูส่วนใน

กลไกลที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบประสาท : (NERVOUS SYSTEM) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของร่างกายเป็นศูนย์บัญชาการ ศูนย์กลางของความรู้สึกนึกคิด และ

พฤติกรรม โดยจะทำหน้าที่เชื่อมต่อและประสานงานระหว่างอวัยวะรับสัมผัสกับสมอง (เกิดการรับรู้) และสมองกับอวัยวะตอบสนอง (เกิดพฤติกรรมตอบสนอง)

ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท (NERVE CELL)

1.ตัวเซลล์ ( CELL BODY)

-โปรโตพลาสซึม (PROTOPLASM) +เนื้อเยื้อ+ นิวเคลียส

2.เดนไดร์ต (DENDRITE) :รับความรู้สึก

3.แอกซอน (AXON)

-ส่งความรู้สึกระหว่างแอกซอนของเซลล์ประสาทตัวหนึ่งกับ เดนไดร์ตของเซลล์ประสาทอีกตัวหนึ่งมีช่องว่าง เรียกว่า ไชแนปส์ (SYNAPSE)

การส่งข่าวสารระหว่างเซลล์ประสาทจะส่งผ่านสารสื่อนำประสาท (NEUROTRANSMITTER)

การส่งข่าวสารภายในเซลล์ประสาทจะส่งผ่านกระแสประสาท (NERVE IMPULSE)

ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ระบบ

1.ระบบประสาทส่วนกลาง (CENTRAL NERVOUS SYSTEM : CNS)

1.1.ไขสันหลัง (SPINAL CORD ) มีหน้าที่นำข้อมูลไปสู่สมอง+นำข้อมูลจากสมองไปอวัยวะตอบสนองควบคุมการทำงานปฎิกริยาสะท้อน(REFLEX)

1.2.สมอง (BRAIN) รับรู้ความรู้สึกควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆการเคลื่อนไหว การออกเสียงพูด การแสดงออกอารมณ์ การใช้ความคิด + สติปัญญา

ส่วนประกอบของสมอง

A.สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN)

-ไฮโปทาลามัส ( HYPOTHALAMUS)

ควบคุมสมดุลย์ของร่างกาย (HOMEOSTASIS) -ทาลามัส (THALAMUS) ศูนย์กลางของการส่งกระแสประสาท

-ซีริบรัม ( CERERUM)

1. ส่วนหน้า (FRONTAL LOBE)

ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว การพูด การเรียนรู้ สติปัญญา อารมณ์ ความคิด บุคลิกภาพ

2.สมองส่วนกลาง (PARIETAL LOBE)

ทำหน้าที่รับสัมผัสจากผิวกาย

3.ส่วนหลัง (OCCIPITAL LOBE )

ทำหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น

4.ส่วนข้าง (TEMPORAL LOBE)

ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน

B. สมองส่วนกลาง (MIDBRAIN)

ทางผ่านของกระแสประสาทจากไขสันหลังไปยังสมองส่วนหน้า

การมองเห็น การได้ยิน

C. สมองส่วนหลัง (HINDBRAIN)

-เมดดัลลา (MEDULLA)ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ การกลืนอาหาร การย่อยอาหาร

-PONS (พอนส์) เชื่อมโยงสมองซีกซ้าย – ซีกขวา กับ ซีรีบรับ

-ซีรีแบลลัม (CEREBELLUM)ควบคุมการทรงตัว+การเคลื่อนไหว+ควบคุมการทำงานปฎิกริยาสะท้อน(REFLEX)

2. ระบบประสาทส่วนปลาย (PERIPHERAL NERVOUS SYSTEM :PNS) แบ่งเป็น

2.1.เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE) เส้นประสาทที่ออกจากไขสันหลังไปทั่วร่างกายตั้งแต่คอลงมามี 31 คู่

2.2.เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE) เส้นประสาทที่ออกจากด้านล่างของสมองไปยังบริเวณใบหน้า ตั้งคอขึ้นไป มีทั้งหมด 12 คู่

3. ระบบประสาทอัตโนมัติ(AUTONOMIC NERVOUS SYSTEM : ANS) ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในและปฏิกิริยาสะท้อน

3.1 ระบบประสาทซิมพาเทติค(SYMPATHETIC NERVOUS SYSTEM)

:กระตุ้นร่างกายให้พร้อมตอบโต้สิ่งเร้า

3.2 ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(PARASYMPATHETEIC NERVOUS SYSTEM)

ควบคุมให้การทำงานของอวัยวะต่างๆที่ถูกกระตุ้นโดยระบบประสาทซิมพาเทติก ให้กลับสู่ภาวะปกติ

กลไกที่ทำหน้าที่ตอบโต้

อวัยวะของร่างกายที่ทำหน้าที่ตอบโต้ หรือ

ตอบสนองต่อสิ่งเร้าประกอบด้วยอวัยวะ 2 ระบบ

1.ระบบกล้ามเนื้อ (MUCULAR SYSTEM)

ปฏิบัติการตามคำสั่งที่ได้รับจากระบบประสาทส่วนกลาง (สมอง + ไขสันหลัง)

แบ่งตามรูปร่างได้ 3 ประเภท

1.1.กล้ามเนื้อลาย

1.2.กล้ามเนื้อเรียบ

1.3.กล้ามเนื้อหัวใจ

2.ระบบต่อม (GLANDULAR SYSTEM)

2.1.ต่อมมีท่อ (DUCT GLANDS):

ต่อมที่หลั่งสารเหลวออกมาแล้วมีท่อเล็ก ๆ ลำเรียงสารเหลวนั้นออกสู่ภายนอก

2.2.ต่อมไร้ท่อ (DUCTLESS GLANDS)

:ต่อมที่ผลิตสารเหลวที่เรียกว่า ฮอร์โมน (HORMONE) ไหลเข้าสู่กระแสเลือดไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยไม่มีท่อ มี 8 ชนิด

A. ต่อมใต้สมอง (PITUITARY GLAND)ผลิตฮอร์โมน :

-GROWTH HORMONE : GH ควบคุมการเจริญเติบโต

-ฮอร์โมนที่ควบคุม หรือกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่นๆ เช่น

:TSH (THYROID STIMULATING HORMONE) กระตุ้นต่อมไทรอยด์

:FSH(FOLLICULAR STIMULATING HORMONE) และ LH (LUTENIZING HORMONE) กระตุ้นการเติบโตของรังไข่และการตกไข่

:ACTH (ADRENOCORICOTROPHIC HORMONE)ควบคุมต่อมอาดรีนอล (ADRENAL)

B.ต่อมไทรอยด์ (THYROID GLAND )

ผลิตฮอร์โมน ไทรอกซิน (THYROXIN)

C.ต่อมพาราไทรอยด์ (PARATHYROID GLAND) ผลิตฮอร์โมนพาราทอร์โมน (PARATHORMONE)

D.ต่อมแพนครีส (PANCREAS GLAND)

หมายเลขบันทึก: 42340เขียนเมื่อ 3 สิงหาคม 2006 15:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 19:41 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

เพิ่งเข้าใจ

ขอบคุณนะคะ....

......ตามคุณปรารถนามาค่ะ.....

เป็นการนำเสนอเนื้อหาที่ดีค่ะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ได้มาศึกษาควรจะเพิ่มเติมการนำเสนอเนื้อหาให้มากกว่านี้นะค่ะพยายามเข้าไว้นะค่ะจะคอยติดตามเสมอและอย่าลืมเข้ามาแวะชมในบล็อกของดิฉันบ้างนะค่ะ

เอ็นโดรฟินอยู่ส่วนใดของสมองคะ

ถ้าต่อมไร้ท่อผลิตฮอร์โมนมากเกินหรือน้อยเกินไปจะเกิดผลอย่างไรต่อร่างกาย

ต่อมแพนครีสทำงานอย่างไรคะ และคนที่เป็นโรคเบาหวานผลิตฮอร์ได้มากหรือน้อยเพียงใด

ต่อมผลิตฮอโมนคือต่อมอะไร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท