หลักสูตร51


หลักสูตร 51 สู่ห้องเรียน

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน - Presentation Transcript

         การออกแบบการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

          What about the teacher’s role ?

  • ศึกษาให้เข้าใจ
  • ( หลักสูตร & นร .)
  • รู้วิธีนำไปใช้สู่ห้องเรียน ( การออกแบบการสอน สื่อ ตัวช่วย )
  • ใช้สอนจริง ประเมินผล
  • เห็นจุดพัฒนา
  • หานวัตกรรม
  • เกิดผลต่อเด็ก ครูก้าวหน้า
  • สังคมดีตามคาดหวัง
  • ครูภาคภูมิใจ

            การวัดและประเมินผล จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ วิสัยทัศน์ หลักการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประเด็นเปรียบเทียบ หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ . ศ . 2544 2551 โครงสร้าง

             วิสัยทัศน์

  • กำหนด วิสัยทัศน์ ชัดเจน
  • กำหนดสมรรรถนะที่สำคัญ 5 สมรรถนะ
  • ลักษณะพึงประสงค์ 8 ประการ

                             หลักการ

  • ปรับหลักการ เพิ่ม จาก 5 ข้อ เป็น 6 ข้อ
  • - เอกภาพ
  • - โอกาส เสมอภาค เท่าเทียม
  • - สนองตอบการกระจายอำนาจ
  • - ยืดหยุ่น โครงสร้าง สาระ เวลา การจัดการเรียนรู้
  • - เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • - จัดการศึกษาได้ทุกรูปแบบ

         จุดหมาย

  • ปรับหลักการ จาก 9 ข้อ เหลือ 5 ข้อ
  • - คุณธรรม เศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรม
  • - ความรู้อันเป็นสากล ทักษะการจัดการ ทักษะการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร
  • - สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขนิสัย
  • - จิตสำนึกความเป็นพลเมืองไทย - โลก
  • - อนุรักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย จิตสาธารณะ

         สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

  • 1. การสื่อสาร
  • 2. การคิด
  • 3. การแก้ปัญหา
  • 4. การใช้ทักษะชีวิต
  • 5. การใช้เทคโนโลยี

สุชาติ วงศ์สุวรรณ ที่ปรึกษา สพฐ .

              Thinking Skills & Personal Capabilities การสื่อสาร การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี การคิด

              คุณลักษณะอันพึงประสงค์

  • 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
  • 2. ซื่อสัตย์สุจริต
  • 3. มีวินัย
  • 4. ใฝ่เรียนรู้
  • 5. อยู่อย่างพอเพียง
  • 6. มุ่งมั่นในการทำงาน
  • 7. รักความเป็นไทย
  • 8. มีจิตสาธารณะ

             มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

  • ลดมาตรฐานเหลือ 67 มาตรฐาน
  • กำหนดตัวชี้วัดชั้นปี ของ ป . 1 – ม . 3 ตัวชี้วัด ม . 4 – 6

                กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

  • กิจกรรมแนะแนว
  • กิจกรรมนักเรียน
  • กิจกรรมเพื่อสังคม

                 โครงสร้างเวลา

  • กำหนดระดับเป็น 3 ระดับ
  • - ประถม ป . 1 - 6
  • - ม . ต้น ม . 1 – ม . 3
  • - ม . ปลาย ม . 4 – ม . 6
  • กำหนดเวลาเรียนขั้นต่ำ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ และให้สถานศึกษาเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้น

                การวัดและประเมินผล และการจบหลักสูตร

  • กำหนด เกณฑ์กลางการจบ
  • การตัดสินผลการเรียน
    • ประถมเป็นรายปี
    • ม . ต้น และ ม . ปลาย รายภาค
  • ประเมินตามตัวชี้วัด
  • รายงานผลสัมฤทธิ์อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง มัธยมฯตัดเกรด เป็น 8 ระดับ
  1.  
  • หลักสูตร 44
  • วิสัยทัศน์ ?
  • -
  • -
  • มฐ . สาระการเรียนรู้
  • มฐ . สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น
  • ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
  • กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนรวม
  • หลักสูตร 51
  • วิสัยทัศน์
  • สมรรถนะ
  • คุณลักษณะที่พึงประสงค์
  • มฐ . สาระการเรียนรู้
  • ตัวชี้วัด
  • กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนของกลุ่มสาระฯแต่ละปี
  • กำหนดเกณฑ์กลางประเมินผล
  1.  
  • จะนำหลักสูตรฯไปใช้เมื่อไร

                         สพท .

  • กำหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็นความต้องการในระดับชาติ
  • พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
  • ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น
  • วิจัยและพัฒนาคุณภาพ
  • พัฒนาบุคลากร
  • สนับสนุน ส่งเสริม
  • ติดตามผล ประเมินผล
  • วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน

                        สถานศึกษา

  • การวางแผนและใช้หลักสูตร
  • วิจัย พัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร
  • จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผล
  • พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางฯและ สิ่งที่ท้องถิ่นกำหนด
  • เพิ่มเติมส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของผู้เรียน

                        ครูนำไปจัดการเรียนการสอน

  • ครูผู้สอนวิเคราะห์ คุณภาพผู้เรียนตามตัวชี้วัดกำหนดสมรรถนะ คุณภาพของผู้เรียนเพียงใด
  • จัดทำรายวิชา
  • ออกแบบหน่วย เลือกสื่อ ประเมิน
  • หาทางพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณภาพตามตัวชี้วัด
  • พัฒนาการสอน พัฒนาหลักสูตร

            ชุดเอกสารหลักสูตร

  • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง P 12
  • ตัวชี้วัด

             สาระ / มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี ( พื้นฐาน ) ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ มาตร ฐาน ป .1 ป .2 ป .3 ป .4 ป .5 ป .6 รวม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุข / พล ศิลปะ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ รวม 5 5 6 14 8 13 5 11 5 6 3 6 4 4 4 8 40 67 ระดับ ม . ต้น ระดับ ม . ปลาย ม .1 ม .2 ม .3 ม .4 - 6 22 27 32 33 35 34 35 32 35 36 321 14 23 28 29 29 31 27 26 25 32 264 16 22 28 21 34 37 42 37 40 68 345 34 34 39 38 37 39 44 44 49 63 419 15 21 18 19 25 22 23 25 24 29 221 18 25 29 29 26 27 27 27 32 39 279 5 10 8 10 13 13 9 9 12 29 123 16 16 18 20 20 20 20 20 21 21 193 140 178 200 199 219 223 227 226 238 317 2165 สุ ที่ปรึกษา สพฐ .

  • www.curriculum51.net

            การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร ( ฉบับปรับปรุง ) ดร . วรรณา ศักดิ์สินช่องดารากุล สนก . สพฐ . วิสัยทัศน์ของหลักสูตร สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - การสื่อสาร - การคิด - การใช้ทักษะกระบวนการ และทักษะการดำเนินชีวิต - การใช้เทคโนโลยี

  • 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
  • มีวินัย
  • ใฝ่เรียนรู้
  • เป็นอยู่พอเพียง
  • รักความเป็นไทย
  • มีจิตสาธารณะ
  • ซื่อสัตย์
  • มุ่งมั่นในการทำงาน

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตร

              สาระที่ ๑     ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน   ส ๑ . ๑     รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

  • ตัวชี้วัด ป . ๑
  • ๑ . บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดา
  • ที่ตนนับถือโดยสังเขป
  • ๒ . ชื่นชมและบอก
  • แบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติ
  • สาวก ชาดก เรื่องเล่า
  • และศาสนิกชนตัวอย่าง
  • ตามที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ป . ๒
  • ๑ . บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือ
  • ๒ . สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการออก ผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตาม ที่กำหนด

ตัวชี้วัด ป . ๓ ๑ . อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย ๒ . สรุปพุทธประวัติ ตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึง ปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดา ที่ตนนับถือตาม ที่กำหนด .

  • กลุ่มสาระ ภาษาไทย
  • ชั้น ป . 1
  • สาระการเรียนรู้ ท 1.1 การอ่าน
  • ตัวชี้วัด ( ที่ 6) อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • การอ่านหนังสือตามความสนใจ หนังสือที่นักเรียนเลือกอ่านเอง หนังสือที่ครูและนักเรียนร่วมกันเลือก

 

  • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
  • ชั้น ป . 2
  • สาระ ที่ 2 การเขียน
  • ตัวชี้วัด เขียนเรื่องสั้นๆเกี่ยวกับประสบการณ์ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • การเรื่องสั้นๆเกี่ยวกับประสบการณ์

 

  • กลุ่มสาระ ภาษาไทย
  • ชั้น ม . 1
  • สาระการเรียนรู้ ท 2.1 การเขียน
  • ตัวชี้วัด เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสำคัญและรายละเอียดสนับสนุน
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง บรรยายเล่าประสบการณ์ที่ประทับใจ

 

  • กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์
  • ชั้น ป . 2
  • สาระ ที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
  • ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนที่ไม่เกินหนึ่งพันและศูนย์
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • - หลักและค่าของโดด
  • - การกระจาย
  • - การใช้เครื่องหมายเปรียบเทียบ
  • - การเรียงลำดับจำนวน

 

  • กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์
  • ชั้น ม . 2
  • สาระ ที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
  • ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
  • ตัวชี้วัด อ่านและนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิวงกลม
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง แผนภูมิวงกลม
  • กลุ่มสาระ สังคม
  • ชั้น ม . 3
  • สาระ ที่ 3 เศรษฐศาสตร์
  • ส 3.1
  • ตัวชี้วัด อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ

 

  • กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • ชั้น ป . 3
  • สาระ ที่ 3 เศรษฐศาสตร์
  • ส 3.1 ป . 3 / 1
  • ตัวชี้วัด จำแนกความต้องการและความจำเป็นของสินค้าและบริการในชีวิตประจำวัน
  • สาระการเรียนรู้แกนกลาง สินค้าที่จำเป็น สินค้าที่เป็นความต้องการ คุณค่าของสินค้าและบรืการ หลักการเลือกสินค้าและบริการ
  1. Thinking Skills & Personal Capabilities Being Creative Managing Information Thinking, Problem Solving, Decision Making Working with Others Self-Management
  2. ทดสอบ √ ? x
  • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
  • กำหนดสมรรถนะที่พึงประสงค์ √ ? X
  • คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • มีตัวชี้วัด √ ? X
  • กำหนดโครงสร้างเวลาของ
  • แต่ละสาระการเรียนรู้ √ ? x
  • ยังคงมีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง √ ? x
  • มาตรฐานสาระการเรียนรู้เท่าเดิม √ ? x
  1. ทดสอบ √ ? x
  • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
  • ตัดสินผลการเรียน ม. ต้น เป็นรายปี√ ? X
  • ยังคงมีช่วงชั้น √ ? X
  • ไม่ผ่านกิจกรรมเพื่อสังคมก็ได้ √ ? x
  • มีซ้ำชั้น √ ? x

             มาตรฐานการเรียนรู้ มี การแสดงออกของผู้เรียน สาระเนื้อหา พัฒนาการผู้เรียน การคิด การปฏิบัติ สังคม สุนทรียะ ค่านิยม ลำดับความคิดรวบยอด หลักการ

            มาตรฐาน ส 1.1

  • ระดับความรู้ / ทักษะ / คุณธรรมที่ต้องการให้เกิดในตัวนักเรียน ?
  • ตัวชี้วัด ป . 3 อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย
  • สาระการเรียนรู้
  • ความสำคัญของศาสนา ต่อรากฐานของวัฒนธรรมไทย
  • ระดับคุณภาพ ?

 

  • สิ่งที่ไม่ระบุในหลักสูตร
  • ความคิดรวบยอด / หลักการ
  • ระดับคุณภาพ

         หลักสูตร 51 แกนกลาง คุณภาพผู้เรียนที่ต้องการคืออะไร จะทำให้เกิดคุณภาพนั้นได้อย่างไร รู้ได้อย่างไรว่ามีคุณภาพนั้นแล้ว

             กระบวนการเรียนรู้ พหุปัญญา BBL คิด สร้างความรู้ ปฏิบัติจริง บูรณาการ แก้ปัญหา เข้าสังคม ประสบการณ์จริง นิสัย จัดการตนเอง เรียนได้เอง วิจัย ห้องเรียนคุณภาพ  สพฐ

                 ศึกษาเตรียมการ การคลี่มาตรฐาน UbD BwD GPAS Rubrics ประเมินสภาพจริง ทุกคนได้เรียน วิจัยชั้นเรียน BBL KM .

                ดำเนินการ ตรวจสอบวิสัยทัศน์กับคุณภาพ คลี่มาตรฐาน ระดับคุณภาพรายปี ทำคำอธิบายรายวิชา ผังและหน่วย ปรับเนื้อหารายปีตามตัวชี้วัด นำแต่ละหน่วยมาออกแบบเรียนรู้

  • สู่การสอนด้วย ระดับพัฒนา

   ข้อมูลจาก    ดร . วรรณา ช่องดารากุล สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สพฐ .

หมายเลขบันทึก: 420184เขียนเมื่อ 13 มกราคม 2011 22:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 10:04 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท