สื่อการสอน


มีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับสื่อการสอนเป็นอย่างดี

สื่อการสอน

ความสำคัญของสื่อการสอน

                        กระบวบการเรียนการเรียนการสอน  สื่อจัดว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้กระบวนการเรียนการสอนครบบริบูรณ์และยังอาจกล่าวได้ว่าเป็นตัวชี้ถึงประสิทธิภาพของการเรียนการสอนในครั้งนั้นๆอีกด้วย  เพราะตัวสื่อจะเป็นตัวการสำคัญที่นำเอาความรู้และประสบการณ์เข้าไปสู่การรับรู้ของผู้เรียน

    นอกจากนี้สื่อการสอน

-          จะช่วยรักษาความคงที่ของเนื้อหา

-          สามารถพัฒนากิจกรรมการเรียนในรูปแบบต่างๆได้

-          สามารถรวบรวมเป็นระบบเพื่อเป็นเหล่งความรู้ในศูนย์วิทยาบริการของโรงเรียน

-          สามารถใช้เป็นสื่อเพื่อการเรียนซ่อมเสริม

-          เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนจะเป็นเครื่องสื่อกำหนดบทบาทของครูและนักเรียน

ประเภทของสื่อการสอน

* วัสดุ   ได้แก่  สื่อที่ผลิตโดยวัสดุต่างๆ  เช่น  รูปภาพ  ฯลฯ

*  อุปกรณ์  ได้แก่  ประเภทเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง

*  วิธีการ  สิ่งที่ใช้เทคนิคเฉพาะ  เช่น  กิจกรรมต่าง

 การใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์

                        คำว่าสร้างสรรค์เป็นคำที่ได้ยินกันคุ้นหูจนหน้าจะเชื่อได้ทั้งผู้พูดและผู้ฟังความหมายของคำนี้เป็นอย่างดี  สื่อการสอนเป็นแหล่งความรู้  ซึ่งสามารถ  แบ่งแหล่งความรู้ได้เป็น 4  ประเภทดังนี้

1.      แหล่งความรู้ที่มีครูผู้สอนเป็นสำคัญ

2.      แหล่งความรู้ที่มีนักเรียนเป็นสำคัญ

3.      แหล่งความรู้ที่มีสื่อเป็นสำคัญ

4.      แหล่งความรู้ที่มีสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

     การยอมรับความสำคัญของสื่อการสอนเช่นนี้จะทำให้การนำสือไปสร้างสรรค์ได้อย่างกว้างขวางและลบความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อการสอนที่มักคิดว่าสื่อเป็นเพียงของชิ้นหนึ่งที่ครูใช้สอนเท่านั้น  จนทำให้เกิดความรู้สึกว่าเกิดความขาดแคลนสื่อการสอน  เพราะแท้จริงแล้วสื่อการสอนมีอยู่รอบๆ ตัวเรานี้เอง กระดาษ 1 แผ่น ใบไม้ 1 ใบ หรือหนังสือพิมพ์สัก 1 ฉบับ สามารถนำไปสร้างสรรค์เป็นสื่อการสอนได้อย่างไร้ขอบเขตจำกัด

 การเขียนบันทึก

     ผู้ใช้หรือ USER ทั้งหลายพอใจแค่สมัครเป็นสมาชิก และเปิดบล็อกได้ แต่เรื่องของการเขียนบันทึก  ต้องเอาไว้ก่อนเพราะต้องรอให้มีเวลาสักหน่อยจึงจะเขียนได้  บางท่านก็จด ๆ จ้องๆ ขออ่านของคนอื่นก่อน  เอาไว้มั่นใจแล้วค่อยเขียน

    สาเหตุอย่างที่กล่าวมา เป็นเพราะว่า "คนไทย" ไม่ค่อยได้รับการฝึกฝนการเขียนบันทึกกันคะ

        การเขียนบันทึก ต้องหมั่นฝึกฝน เพราะเป็นเรื่องของประสบการณ์การเขียน การเขียนบันทึกที่ดี อ่านเข้าใจ มีคนเข้ามาติดตามอ่านนั้น ดิฉันคิดว่ามันเป็น "ศิลปะ" นะคะ  เรียกว่า "ศิลปะของการเขียนบันทึก"  ผู้เขียนบันทึก จึงอาจจะเรียกตัวเองว่าเป็น "ศิลปิน" ก็ได้ เป็นศิลปินสาขาวรรณศิลป์ไงคะ

การจะเป็นศิลปิน ก็ต้องหมั่นฝึกฝนนะคะ   ผมขอถ่ายทอดประสบการณ์ดังนี้

  • เมื่อเริ่มเขียนบันทึก ต้องมีความมุ่งมั่นว่าจะทำให้ได้อย่างน้อยกี่บันทึก ภายในเวลาที่กำหนด อย่างดิฉันตั้งใจว่า จะต้องเขียนบันทึกให้ได้ 100  บันทึก ภายในเวลาไม่เกิน 1 ปี (ผมทำได้ในเวลาไม่เกิน 3 เดือน) เรียกว่า "เอาปริมาณไว้ก่อน"
  • ยังไม่ต้องไปคำนึงถึงกฎเกณฑ์อะไรมาก เขียนไปก่อน
  • เขียนในทำนองการเล่าเรื่องการทำงาน หรือ ความภาคภูมิใจก่อนและบอกถึงวิธีการทำงานหรือวิธีการที่ทำให้ทำงานสำเร็จก่อน
  • ถ้าเป็นนักเรียน,นิสิต,นักศึกษา อาจเล่าเรื่องเกี่ยวกับการเรียนหรือการได้มาซึ่งความรู้ใหม่ ซึ่งตนเองไม่เคยรู้มาก่อน หรือเล่าความประทับใจเกี่ยวกับผู้สอนก็ได้
  • หมั่นเขียนให้ได้สม่ำเสมอ เช่น กำหนดไว้ว่า สัปดาห์ละ 4-5 บันทึก หรือ เดือนละ 4-5 บันทึกเป็นต้นไป แล้วทำให้ได้ตามนั้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจ
  • หมั่นเขียนไปเรื่อยๆ สำนวนก็จะดีขึ้นเรื่อยๆ
  • ระหว่างเขียน ถ้าไม่มั่นใจ "ศัพท์" คำไหน ให้ตรวจเช็คดูก่อน เพื่อความถูกต้อง
  • เมื่อเขียนไปแล้ว ต้องคอยตรวจทานดูคำผิด และแก้ไขให้ถูกต้องด้วย เป็นการฝึกฝนความเป็นคนมีระเบียบ และรอบคอบครับ
  • พอเขียนได้ดีแล้ว  ติดเป็นนิสัยแล้วตอนหลังๆ ควรหารูปภาพมาประกอบเรื่องเล่าด้วยค่ะ  เพื่อให้บล็อกหรือบันทึกของเรามีคนเข้ามาสนใจและคอยให้กำลังใจเราอย่างสม่ำเสมอค่ะ

แพลนเน็ต  หรือ Planet ก็คือ คำว่า ชุมชนบล็อก ของระบบเดิม แต่ใน KnowledgeVolution เราหันมาใช้คำที่ถูกต้องว่า

(http://en.wikipedia.org/wiki/Planetaggregator

   ซึ่งหมายถึง      ระบบการรวบรวมบล็อกที่มีอยู่ในระบบเฉพาะที่สมาชิกแต่ละคนสนใจที่จะติดตามอ่านอยู่เป็นประจำ (Reading list) และเจ้าของบล็อกนั้นๆ จะสามารถติดตามได้ว่ามีสมาชิกท่านใดสมัครรับอ่านบล็อกของตนอยู่บ้าง หรือที่เรียกว่า วงจรแพลนเน็ต นั่นเอง ผู้สร้างแพลนเน็ตสามารถนำบล็อกเข้าแพลนเน็ตได้ด้วยการไปที่บล็อกนั้น กดลิงค์ด้านล่าง

ผศ.มานิต ยอดเมือง http://gotoknow.ort/ymanit  http://ymanit.multiply.com/  http://spaces.msn.com./ymanit 

ที่เขียนว่า นำบล็อกเข้าแพลนเน็ต แต่หากมีเจ้าของบล็อกอยากให้ผู้สร้างแพลนเน็ตนำบล็อกของตนเข้าแพลนเน็ตด้วย  ก็ต้อง อีเมล์ติดต่อ ไปหาผู้สร้างแพลนเน็ตเอง อันที่จริงในเวอร์ชั่นนี้ ใครๆ ก็มีแพลนเน็ตได้เหมือนเป็น Reading list คือ เลือกรับอ่านบล็อกที่ตนเองสนใจติดตาม

ทีมงานจะเพิ่มความสามารถของการเป็นชุมจริงๆ เข้าไปในอีกไม่นาน เช่น Askus ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการเป็น Yahoo! Group หรือ board ของเฉพาะกลุ่ม เป็นต้น

               วงจรแพลนเน็ตใครยาวที่สุด คำตอบเพื่อค้นหา Popularity ของบล็อก วงจรแพลนเน็ตของบล็อก Tutorial.gotoknow.org กว้างมากค่ะ เพราะมีแพลนเน็ตเข้ามาดึงบล็อกไปอ่านถึง 40 แพลนเน็ตค่ะ

 แพลนเน็ต  เป็นศัพท์เทคนิค แสดงถึงการรวบรวมบล็อกที่สนใจไว้ในที่เดียวกัน ใน GotoKnow version 2 นี้นั้น จะเน้นที่ความง่ายในการติดตามอ่านบล็อก

แพลนเน็ตที่ดิฉันสร้างไว้เพื่อแบ่งกลุ่มบล็อกที่ติดตามอ่าน

  • GotoKnow  Developers
  • ติดตามต่อยอด
  • ชุมชนเทคนิคการใช้งาน GotoKnow.ort
  • ความคิดพิมพ์ผ่านปลายนิ้ว
  • Cognitive  Psychology

 

คำสำคัญ (Tags): #ชื่นมะณี
หมายเลขบันทึก: 39673เขียนเมื่อ 19 กรกฎาคม 2006 18:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:23 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
ดีใจค่ะที่ได้เข้ามาเยี่ยมชมเวบคุณเดี๋ยวมาอีกนะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท