นิทานคติ: อย่าค้นผีลุก อย่าปลุกผีตื่น


เป็นคติเตือนใจให้แก่บรรดานักกฎหมาย นักบริหาร การปกครอง นักแก้ไขข้อแย่งหรือการละงับข้อผิดพาดและผู้ที่ทำหน้าที่รักษาความยุติธรรมเมื่อเราจะลงับข้อผิดพลาดใดหนึ่งนั้นเราจะต้องทราบถึงข้อมูนให้รเอียดถี้ถ้วนค้นหาสาเหตุให้มนไดไม่ว่าจะเป็นสาเหตุเล็ก ใหญ่ก็ตามเราต้องค้นหาให้ได้ ถ้าไม่ดังนั้นเราก็จะตัดสินไปโดยไมมีความยุติธรรม (ถ้าไม่ดังนั้นมนก็จะมีคำพูดที่ว่ากฎหมายมีไว้เพื่อหยัง ? และความยุติธรรมีอยู่ที่ใหน) ถ้าผิดพลาดประการใดผมต้องขออภัยครับ

นิทานคติ: อย่าค้นผีลุก อย่าปลุกผีตื่น          สุภาษิตที่ว่า:อย่าค้นผีลุก อย่าปลุกผีตื่นได้กลายเป็นเครื่องเตือนใจแก่บรรดานักกฎหมาย นักปกครอง และ บรรดาเจ้าหน้าที่ที่ทำงานเกี่ยวกับความยุติธรรม มีเรื่องเล่าลือมาเป็นอุทาหอนณ์ใจดันี้           แต่ปางก่อนยังมีดาบสตนหนึ่งไปเรียนวิชาอาคมจากสำนักงานอาจารย์อยู่เมืองตกสีลา สำเร็จวิชาดาบสรู้เวทย์มนต์คาถาสามารกเป่าคนตายให้มีชีวติคืนมาได้ อาจารย์ได้สั่สอนกับดาบสตนที่เป็นลูกศิษย์ว่า: คุณเรียนจบวิชาอันนี้สำเร็จแล้ว อย่าค้นผีลุก อย่าปลุกผีตื่น เมื่อใดไม่มีผู้ร้องขอยอมือไห้วคุณอย่าได้แตะต้องตัวเขากฏหมายห้ามไม่ให้ผู้พิพากษาศารแพ่งตัดสินคดีที่โจทย์ไม่ได้ร้องขอทางแพ่ง         เมื่อสำเร็จวิชาอาคมและได้รับการอบรมสั่งสอนจากอาจารย์แล้วดาบสตนนั้นบังเอีญไปพบเห็นเสือโคร่งตัวหนึ่งถูกงูเห่ากัดตายหงายท้องอยู่ตีนโพนจอมปลวก         ดาบสเห็นอาการดงกล่าวนั้นก็เป่าเวทย์มนต์คาถาโผดเอาเสือตัวนั้นให้มีชีวิตคืนมาในทันทีทันใด เมื่ออสะคุ้งตื่นขึ้นมาเหลยีวเห็นดาบสยืนอยู่ข้างจึ่งกล่าวขึ้นว่า  คุณนั้นจังไรไฟไห้ม ผมนอนอยู่ดีๆเหตุใดจึ่งมาปลุกมาค้น คุณนั้นมีโทษถึงแก่ความตาย แล้วจ่งยอมตัวมาให้ผมกินเป็นอาหารเดียวนี้         ดาบสจึ่งตอบว่า: คุณถึงแก่ความไปแล้ว เพราะงูเห่ากัดคุณตาย ผมเมตตาสงสารท่านจึ่งใช้คาถาอาคมของผมเป่าเอาท่านคืนความนี้เป็นความจริงแท้ ถ้าท่านยังไม่เชื่ออยากกินผมเป็นอาหารนั้นแท้ผมก็ยอม แต่ว่าผมขอความยุติธรรมจากเทวดาอารักขาทั้งหลายเสียก่อน         เสือตกลงให้ไปขอความเป็นธรรม ทั้งสองจึงไปหาเทวดาองค์หนึ่งอยู่ต้นยางใหญ่กลางดงแห่งหนึ่ง ทั้งสองจึ่งกล่าวคดีตามแต่ความของแต่ละคนสู่เทวดาฟัง ต่างฝ่ายต่างอ้างเหตุผลของตนเองตามเหตุการณ์ณ์         เมื่อเทวดาฟังคำกล่าวแก้คดีของทั้งสองฝ่ายโจทย์และจำเลยสิ้นสุดแล้วก็รู้ได้ว่า:ความจริงดาบสผู้เป็นจำเลยมีเหตุผลเพราะเสือถูกงูเห่ากัดตายไปแล้ว แต่มาคิดตอนหนึ่งว่า ถ้าจะพิจารณายกคดีให้ดาบุสชนะความตนจะไม่ได้อยู่ในดงนี้อีก เพราะเสือจะหนีออกจากดงคนจะมาถางป่าและตัดต้นไม้ที่ตนอาศัยอยู่เทวดาจึ่งตัดสินคดีไปว่า:         เสือโคร่งมีเหตุผลเพียงพอควรให้เสือโคร่งชนะคดีให้อำนาจแก่เสือโคร่งมีสิทธิกินดาบสเป็นอาหารเพราะเห็นว่าเสือนอนอยู่ดีๆดาบสตั้งไปปลุกไปค้นเสือลุกขึ้นมาเอง         ดาบสจึ่งกล่าวขึ้นว่า: เทวดาข้าแต่หน้าดำผู้อธรรม หน้าตาชื่อเสียงของท่านโด่งดังเป็นที่เคารพและบูชาแต่ว่าจิตใจเป็นอธรรมคำตัดสินของท่านนี้เป็นฃื่อว่า อิงคนิด เห็นแก่ความอาศัยภัยพึ่งชึ่งกันและกัน จึ่งตัดสินดังนี้ ผมจะขออุธรณ์ย้อนความไม่เป็นธรรมของท่าน         ว่าดั่งนี้แล้วดาบสก็พาเสือไปขอความเป็นธรรมจากพญาหมาจี้งจอกทั้งได้เล่าคดีสู่พญาหมาจี้งจอกฟังดั่งเดียวกับเล่าสู่เทวดาฟังตั้งแต่ต้นจนจบ เมื่อหมาจี้งจอกได้ฟังคำแถลงกล่าวแก่ของโจทย์และจำเลียสิ้นสุดแล้วก็รู้ได้ว่าอันนี้คือความดาบสแท้แต่มาพิจารณาแล้วจะพิจารณาให้เสือแพ้คดีก็จะอยู่ยากและจะไม่ได้กินอันใดเลยสู้ตัดสินให้เสือกินดาบสดีกว่าเพราะหมาจิ้งจอกก็จะได้กินส่วนเศษเหรือของเสือ         คิดแล้วก็ลงคำพิพากษาไปว่าคำกล่าวแก่ของเสือมีเหตุผลเพียงพอควนพิจารณาให้เสือกินดาบสเป็นอาหารเพราะว่าเขานอนอยู่ดๆเที่ยวไปปลุกค้นผู้อื่นโดยไม่มีเหตุผล         เมื่อหมาจิ้งจอกอ่านคำพิพากษาจบลงแล้วดาบสจึ่งกล่าวขึ้ว่า โอโหอ้ายสุนักโขหน้าของโตเป็นสีจอกหลอกบักหมาจอกหางผิว มึงย้านกลัวอำนาจของเสือเพื่ออาศัยกินของเศษจึ่งได้ลงคำพิพากษาอย่างไม่มีความเป็นธรรม คำพิพากษาของคุณนี้ถือว่า สรรทาคติ  เห็นแก่ความพอใจในการกินการอยากของคุณ คุณไม่ให้ความยุติธรรมแก่ผม ผมจะอุธรณ์ ไปหาความยุติธรรมจากคนใหม่        ว่าแล้วดาบสก็พาเสือไปหาความยุติธรรมจากพญางัวอูสูพะลาดเมื่อทั้งสองกล่าวคดีตามความมีต่อพญางัวอูสูพะลาดฟังเป็นที่เรียบร้อยแล้วเห็นว่าความจริงตกอยู่กับดาบส แต่มาพิจารณาถี้ถ้วนแล้วเห็นว่าเมื่อพิพากให้เสือแพ้คดี ลูกและเมียของตนจะตกเป็นเหยื่อของเสือตลอดถึงตนเองก็จะหาที่อยู่ไม่ได้         ดั่งนั้นพญางัวอูสูพะลาดจึ่งตัดสินใจลงคำพิพากษาว่าคำแถลงของดาบสไม่มีเหตุผลเพียงพอให้ยั่งยืนเอาตามคำพิพากษาของเทวดาและของหมาจิ้งจอกที่ได้ตัดสินไปแล้วทุกข้อความโดยบอกว่าให้เสือกินดาบสเป็นอาหาร เมื่ออ่านคำพิพากษาจบลงดาบสจึ่งกล่าวขึ้นว่า: อูสูอันว่าตัดสิเท้าเข้าชวงกินหญ้าเคี้ยวเอื้อง มึงนี้ตั้อยู่ภายใต้พะยักตัวเสือโคร่งมึงนี้กลัวว่า ความตายดับวายทั้งโคดเชื้อมึงไม่เชึ้อในความจริง  คุณจึ่งคำพิพากษาให้เสือชนะคดีคำตัดสินของคุณชื่อว่าตัดสินเป็น พยาคติ เห็นแก่ความย้านกลัวแก่อำนาจวาสนาผู้มีสาตราอาวุธและกำลัง คุณจึ่งตัดสินไปอย่างนี้คำตัดสินอันนี้ไม่เป็นธรรมแก่คู่ความ ผมจะอุธรณ์ไปหาความยุติธรรมจากคนอื่นอีกต่อไป         จากนี้ดาบสจึ่งพาเสือไปหาพญาลิงเมื่อทั้งสองได้กล่าวคดีต่อพญาลิงฟังตามข้อความแต่ต้น จบลงแล้วพญาลิงก็เห็นว่าความจริงตกอยู่ในความของดาบสแต่มาคิดอีกว่าถ้าจะตัดสินให้เสือแพ้คดีพวกตนและบริวารคงตกเป็นเหยื่อของเสืออย่างไม่ต้องสงศัย         เมื่อตัดใจดั่งนี้แล้วจึ่งลงคำพิพากษาไปว่า คำร้องขออุธรณ์ของดาบสไม่มีเหตุผลเพียงพอควรตัดทิ้งไปแล้วยั้งยืนเอาคำตัดสินของเทวดาและหมาจิ้งจอกพร้อมทังตัดสินของอูสูพลาดทุกข้อความบอกว่าให้เสือโคร่งกินดาบสเป็นอาหารได้ตามคำตัดสินด้วยเหตุว่าเสือนอนอยู่ดีๆดาบสแกล้งไปปลุกไปค้นโดยไม่รู้กิจวัตรปฎิบัติของตน

      เมื่อพญาลิงอ่านคำตัดสินสิ้ดลงแล้วดาบสจึงกล่าวสโหลกขึ้นว่า บักโกกนาโถ คุณนี้โง่เขาเบาปัญญาหาพหญาไม่ได้ อาศัยกินหมากผลรไม้ในดง ยังหลงงมงายย้านเสือกินชั้นบ่อ คำตัดสินของคุณนิ้ชื่อว่า " โมหะคติ" เพราะความโง่เขาเบาปัญญาหาความรู้ความสามารก ความสลาดไม่มี  ได้ลงคำพิพากษาด้วยความโง่เง้าของคุณเอง

       ผมไม้สามารกปฏิบัติคำพิพากษาของคุณได้ดอก ผมจะไปหาความยุติธรรมจากผู้ใหม่ ดาบสกล่าวสาปแช่งดังนี้แล้วจึงพาเสือไปหาความยุติธรรมจากพญากระต่าย

        เมื่อทังสองได้พากันไปถึงสำนักงานของพญากระต่ายแล้วทั้งสองจึงกล่าวแก้คดีตามความแต่ต้นจนจบสู่พญากระต่ายฟังทุกข้อความ

        พญากระต่ายเมื่อได้ฟังคำกล่าวแก้ของแต่ละฝ่ายได้รู้(ทราบ)ถึงลายรเอียดแล้วจึงพิจารณาไตราตรองตามเหตุผลว่า ความจริงคงจะเป็นตามดาบสโดยแท้ ไม่ดังนั้นดาบสจะยอมตัวให้เสือกินเป็นอาหารแล้วเพระได้ผ่านผู้พิพากษาถึง4ท่านแล้ว เรากระต่ายผู้ที่5เราควลพิจารนาให้ถี้ถ้วนให้เห็นความจริงถึงต้นเหตุเสียก่อน พญากระต่ายจึงกล่าวว่าเรื่องนี้เพื่อให้เห็นถึงความเป็นจริง พวกท่านจ่งพาเราไปสถานที่ ที่เกิดเหตุเพื่อพิสูจณ์หลักฐานว่า ที่นั้นมีอสรพิษเหมือนดังคำกล่าวอ้างของจำเลยผู้เป็นดาบสจริงหรืไม่?

       คู่คดีตกลงเห็นดีให้พญากระต่ายผู้เป็นผู้พิพากษาพร้อมคู่ความไปยังสถานที่เกิดเหตุ เมื่อพญากระต่ายพร้อมคู่ความไปถึงสถานที่เกิดเหตุแล้วจึงถามเสือโคร่งว่าอยู่ที่ ที่ใหนเป็นที่คุณนอน? นอนอยู่นานเท่าใหน? เสือโคร่งบอกสถานที่แล้วกำหนดการนอนของตนให้พญากระต่ายฟังโดยเชิ่งหน้ากับดาบส ดาบสก็รับรู้ว่าเป็นที่เสือถูกงูกัดตายอยู่ตีนโพนจอมปลวก ที่เก่าที่ตนไปเป่าเอามันกับคืนมาแท้ จากนั้นพญากระต่ายจึงตัดว่า: ถ้าเป็นความจริงดังโจทย์กล่าวมาเจ้าจ่งนอนทับลงที่เก่านี้คูชั่วระยะตื่นหนึ่ง พวกเลาจะมาปลุกเจ้าลุก ถ้าว่าการนอนของเจ้านั้นหากไม้เป็นอันตรายแก่ชีวิต เจ้าจึงกินดาบสเป็นอาหาร ว่าดังนั้นแล้วเสือก็นอนทับรูงูเห่าของเก่าเมื่องูเห็นเสือนอนทับรูของตนเรือออกมากัดเสือตายไปอีกเป็นหนที่สองโดยได้ผ่นพิษอัแรงกล้าใส่ตาและรอยบาทโดยไม่ให้ใครสามารกเป่าให้มีชีวติคืนได้อีก ชั่วหนึ่งยาม (ประมาณครึ่งชั่วโมง) กระต่ายและดาบสจึงได้ไปปลุกเอาเสือห้ตื่นขึ้นมาแทนที่เสือจะนอนตามความกล่าวโจทย์ของมนเลยถูงูเห่าพ่นพิษอันร้ายแรงใส่มนตายโดยไม่มีวันจะกลับคืนได้อีก

        ถึงปานนั้นดาบสยังไดกล่าวกับพญากระต่ายว่าให้ให้เราเป่าเอามนคืนมาอีกหรือไม่? พญากระต่ายจึงตอบว่าธรรมชาติแห่งความเป็นธรรมได้ตัดสินชี้ขาดชาตากรรมของมนเรียบร้อยแล้วไม่ต้องเป่าเอามนคืนมาอีกเลย  ดาบสจึงกล่าวต่อว่าความยุติธรรมไม่ขึ้นกับผู้มีชื่เสียง อิทธิพล รูปทรงท่าทางแต่อย่างใด ความยุติธรรมไม่อยู่ไต้อำนาจของความโลบโกรธหลงและกำลังพลแต่อย่างใด เมื่อใดผู้จะให้ความยุติธรรมหากยังมี:

1. ความเห็นแก่ตัว แก่ครอบครัว พรรคพวก  ญาติมิตร และเห็นแก่ความรักแพงจะหาความยุติธรรมจากผู้นั้นไม่มีได้

2. เมื่อใดหากเห็นแก่ความอนากพึ่งอาศัยสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ดว้ยกันจะหาความยุติธรรมจากผู้นั้นไม่มีได้

3. เมื่อใดหากมีอำนาจหนีบเตงและกลัวต่ออำนาจอิทธิพลนั้นอยู่ ก็จะหาความยุติธรรมจากที่นั้ไม่มีได้

4. เมื่อใดหากยังมีความโง่เขลาเบาปัญยา ไม่มีความรู้ความสามารกในหลักการแห่งกฎหมายจะหาความยุติธรรมจากที่นั้นไม่มีได้

        ในคำพิพากษาของกระต่ายที่กล่าวมาข้างบนนี้ชี้ให้เห็นว่า เมื่อใดผู้พิพากษาไม่มีความษามารกที่จะลงคำพิพากษาชี้ขาดได้ในคดีทางแพ่งหรืออาญา จึ่งให้ผู้พิพากษาออกไปพิสูจน์กับที่หรือแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาณเพื่อพิสูจน์หลักฐานและหาหลักฐานเพี่มเตีม  ตามอาการของรูปคดีจากนั้นก็ได้กรายมาเป็นจารีตประเพณีของศารมาถึงทุกวันนี้                      

หมายเลขบันทึก: 39655เขียนเมื่อ 19 กรกฎาคม 2006 16:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 14:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

สนุกจัง อยากอ่านต่อ

ชอบวิธีการเสนอที่นำมาอธิบายและยกตัวอย่างเป็นภาพพจน์นี้ตั้งแต่สมัยมัธยมแล้ว เพราะวรรณคดีนั้นเปรียบเทียบลีลาลึกซื้งยิ่งนักและยังเป็นตัวอย่างที่เข้าใจง่ายอีกด้วย

เหมาะสำหรับนักกฎหมาย น่าอ่านจริงๆ

อยากอ่านต่อเหมือนกันค่ะ มาโพสท์เร็ว ๆ นะคะ

สนุกดีคะชอบแนวการนำเสนอเรื่องแบบนี้คะเพราะว่าอ่านแล้วไม่เบื่อ

น่าสนใจดีคะ

แล้วเอาคติแบบนี้มาโพสอีกนะ

ชอบมากเลยพี่บุญมี น่าสนใจมาก

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท