การสื่อสารในครอบครัว กับความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาล้าของนกัเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตกรุงเทพมหานคร


งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มุ่งเน้นไปยังกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีประเด็นหลักในการศึกษา 4 ประเด็น ได้แก่ การสื่อสารในครอบครัว การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับยาบ้า ความรู้เกี่ยวกับยาบ้า ทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้าและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปิดรับข่าวสาร ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับยาบ้า

ผลการวิจัย พบว่า
- นักเรียนส่วนใหญ่มีรูปแบบการสื่อสารในครอบครัวเป็นแบบเปิด
สื่อมวลชนที่นักเรียนส่วนใหญ่เปิดรับบ่อยที่สุด คือ โทรทัศน์
ผลของการเปิดรับเรื่องราวเกี่ยวกับยาบ้าจากสื่อโทรทัศน์ทำให้นักเรียนหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงในการลองเสพ
ผลของการเปิดรับเรื่องราวเกี่ยวกับยาบ้าจากสื่อวิทยุทำให้นักเรียนเกรงกลัวในอันตราย
ผลของการเปิดรับเรื่องราวเกี่ยวกับยาบ้าจากสื่อหนังสือพิมพ์ทำให้นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ

ผู้วิจัย ขวัญใจ ผลิเจริญสุข (2539)


คำสำคัญ (Tags): #สื่อ#ยาบ้า
หมายเลขบันทึก: 37363เขียนเมื่อ 6 กรกฎาคม 2006 11:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 พฤษภาคม 2012 22:46 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท