การใช้แบบจำลองในการดูแลดินอย่างดี


ช่วยทุ่นแรง

วันศุกร์ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ มีโอกาสได้รับเชิญจาก JIRCAS (Japan International Research Center for Agricultural Sciences) สำนักงานประเทศไทยไปบรรยายเรื่องการใช้แบบจำลองในการดูแลดินอย่างดี (Good Soil Care)

 

เป็นโครงการที่รัฐบาลญี่ปุ่นพยายามสนับสนุนให้ดำเนินการร่วมในสามประเทศ ได้แก่ ไทย เวียตนาม และอินโดนิเซีย

 

วัตถุประสงค์ของโครงการที่สำคัญได้แก่ การพัฒนาวิธีการดูแลรักษาดินอย่างดี โดยพัฒนาแบบจำลองเพื่อช่วยประเมินวิธีการดังกล่าว

 

ในการบรรยายได้เสนอให้พัฒนากรอบวิธีคิดและปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งจะทำให้เชื่อมโยงระหว่างแบบจำลองและฐานข้อมูลใหการสร้าง DSS Interfaces ทำได้อย่างเป็นระบบ

 กรอบความคิด

และได้ยกตัวอย่างของการใช้แบบจำลองในกลุ่ม DSSAT4 (Decision Support Systems for Agrotechnology Transfer) ให้ดู โดยใช้ข้อมูลของสถานีทดลองพืชไร่พระพุทธบาท จังหวัดลพบุรี

 

หมายเลขบันทึก: 34381เขียนเมื่อ 17 มิถุนายน 2006 00:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
  • ขอบคุณสำหรับข่าวสารของโครงการเรื่องนี้ครับอาจารย์
  • ถึงแม้ DSSAT4 จะใช้ MDS แต่ก็นับเป็นงานขนาดใหญ่ทีเดียวครับ ที่ต้องใช้เวลาสร้างฐานข้อมูลด้านดิน ภูมิอากาศ และด้านอื่นๆ

เรียน คุณจรัณธร

ยินดีครับ

๑. เป็นงานที่ผมสนใจและพยายามติดตามและพยายามนำพาให้เกิดประโยชน์ทั้งชาวญี่ปุ่นและชาวไทย

๒. งาน D4 และระบบ MDS เป็นงานที่ค่อนข้างใหม่สำหรับภาคพื้นเอเซีย แต่ในภาคพื้นอื่นนั้นเป็นระบบซึ่งแพร่หลาย โดยเฉพาะในวงการกำหนดนโยบายและทิศทางการอยู่อย่างเป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม  

 

ในบ้านเราต้องพยายามมากขึ้นครับ

------------------------------------ 

อรรถชัย จินตะเวช, เชียงใหม่

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท