วิทยากรพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ "มหกรรมจัดการความรู้เพื่อสวัสดิการชุมชน"


ประวัติทีมวิจัยจังหวัดสมุทรปราการ

<p>ชื่อ นายนเรศมันต์ นามสกุล เพชรนาจักร</p><p>สถานที่ติดต่อ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์</p><p>โทรศัพท์ ๐-๒๕๒๙-๐๖๗๔-๗ กลุ่มงานวิชาปรัชญาและศาสนา ต่อ ๑๔๓ E-mail - [email protected], [email protected]</p><p> </p><p>ประสบการณ์การทำงาน</p><p>…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………</p><p>บทบาท/หน้าที่ในโครงการ/กลุ่ม/เครือข่าย</p><ul><ul><li><pre>ทำหน้าที่ผู้ช่วยนักวิจัย ในการสังเกตความเปลี่ยนแปลงของเครือข่าย เก็บสาระและจดบันทึกในบางโอกาส ตลอดถึงการเป็นเพื่อนเดินทางในยามค่ำคืนให้กับหัวหน้าทีมวิจัยและคอยตั้งข้อโต้แย้ง ข้อสังเกตในมุมมองส่วนตัวหลังจากลงพื้นที่เพื่อสังเกตความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว</pre></li></ul></ul><p>ความรู้/ทักษะในการทำงานตามบทบาท/หน้าที่</p><ul><ul><li><p>จากการทำงานวิจัยเรื่อง การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายกองทุนหมู่บ้านฯ พบว่า ๑) ตำบลในคลองบางปลากดมีความหลากหลายของชั้นทางสังคมโดยอาจแยกชั้นสังคมเป็น ชุมชนเมือง ชุมชนชนบทและชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ๒) ผู้นำการพัฒนากองทุน (อาจเป็นประธานหรือเลขาทั้งนี้แต่ละกองทุนแตกต่างกัน) ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล รู้เท่าทันปรากฏการณ์ทางสังคมโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจการเงิน จะประสบความสำเร็จในการนำพากองทุนไปสู่เป้าหมาย ๓) หลังจากงานวิจัยชิ้นนี้ลงไปสู่ชุมชน มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้น เช่น เครือข่ายมีการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาสื่อในการประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการกองทุนบางกองทุนมีความต้องการที่จะจัดทำบัญชีเชิงคุณภาพหลังจากได้ไปศึกษาดูต่างถิ่น มีการประสานสัมพันธ์อันดีระหว่างกองทุนที่ประสบความสำเร็จในระดับหนึ่งกับกองทุนอื่นๆที่ต้องการพัฒนาไปสู่กองทุนคุณภาพ เป็นต้น ๔) ชุมชนเกิดความต้องการที่จะพัฒนากองทุนของหมู่บ้านตนเองให้ไปสู่เป้าหมายเชิงคุณภาพ บางกองทุนพยายามที่จะขจัดหนี้เสียโดยศึกษาเรียนรู้จากกองทุนในตำบลเดียวกันซึ่งประสบความสำเร็จมาก่อน</p></li></ul></ul><p>ความรู้/ทักษะพิเศษอื่นๆ</p><ul><ul><li><p>การจัดการความรู้ไม่น่าจะใช่บทสำเร็จรูปเพื่อการพัฒนาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การจัดการความรู้จะมีขึ้นได้ต่อเมื่อกลุ่มบุคคลมีความต้องการที่จะพัฒนาอะไรสักอย่างหนึ่ง โดยเครื่องมือในการพัฒนานั้นไม่อาจระบุได้ชัดเจนแน่นอน ทั้งนี้แล้วแต่เหตุปัจจัย</p></li></ul></ul><p>วัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมสัมมนา</p><ul><ul>

  • เข้าร่วมนำเสนอผลงานเพื่อให้ทีมงานมีความสมบูรณ์

  • นำสิ่งที่บกพร่องไปพัฒนางานวิจัยให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมาย

  • </ul></ul><p> </p><p> </p>

    คำสำคัญ (Tags): #ประวัติวิทยากร
    หมายเลขบันทึก: 33852เขียนเมื่อ 13 มิถุนายน 2006 08:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


    ความเห็น (0)

    ไม่มีความเห็น

    พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
    ClassStart
    ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
    ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
    ClassStart Books
    โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท