ฅนนอกระบบ (๒)


น้ำเต้า ความรู้ จัดการ เพิ่มคุณค่า

GURU น้ำเต้า

ฅนนอกระบบ ท่านกูรู สุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ เล่าเรื่องด้วย "สีหน้าของความเป็นครู ถ่ายทอดด้วยท่วงทีแห่งผู้ให้"

น้ำเต้า ต้นตำหรับ การเรียนรู้ ห้อยไปห้อยมาโตงเตง

ภาพที่ ๑ น้ำเต้าห้อยโตงเตง ช่วยบรรเลง สู่บทนำ

ภาพที่ ๒ กูรู เล่าลำนำ ไม่เพลี่ยงหล้ำวิชา "เกิน"

ภาพที่ ๓ ฟังเพลิน ที่ท่านเล่า มองประเมิน Learn from ครู

น้ำเต้า + ความรู้ = ผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่า เสริมปัญญา พาไทยเจริญ

 

ภาพที่ ๔ วิจัยอย่าขึ้นหิ้ง หวังพึ่งพึง นำมา เรียนรู้ อย่าห้อยโตงเตง ไม่บรรเลงสู่ชีวิตจริง

JJ

หมายเลขบันทึก: 33645เขียนเมื่อ 11 มิถุนายน 2006 10:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)
  • ห้อยไปห้อมา พิมพ์ผิดหรือเปล่าครับ
  • ขอบคุณมากครับ
  • รอชมอยู่ ถึงยังไม่ได้ไป ขอชมทางblog ก็แล้วกันครับ ถ้างานวิจัยที่ในระดับมหาวิทยาลัยสามารถเอามาใช้ได้ไม่อยู่บนหิ้ง ตามที่ต่างๆก็คงดีนะครับ

 At Desk ขอบคุณ ท่านขจิต

 มิตรแท้ JJ

 คอยแก้ คอยกลั่น

 มุ่งมั่นสร้างสรรค์

 รวมพลังเพื่อไทย

 







กูรู แบบนี้ต้องมี List เก็บไว้ที่มข. ด้วยมั้ยคะ น่าจะมีการทำProfiles หรืออาจมีแล้วคะ

เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ลึกล้ำ น่าสนใจมากครับ ปรัชญา ...ที่เรียนรู้ได้ตลอดเวลา ตามใจ

ขอบคุณเรื่องราวและภาพที่อาจารย์นำมาบันทึกครับ

 เรียนท่านอาจารย์จงรักษ์

 ท่านอาจารย์สุทธินันท์ ท่านเป็นวิทยกรที่ทางศูนย์บริการวิชาการ ได้กราบเรียนมาเป็นที่ปรึกษา และ บรรยายเรื่องการจัดการความรู้หลายครั้งครับ

 Off To WorkJJ กำลังจะเชิญชวนทีมงาน KKU_KM ไปเรียนรู้กับท่านครับ

 เรียนเชิญ "แสดงความคิดเห็น ครับ"





- "ห้อยโตงเตง" คือ การขึ้นหิ้งแบบชาวบ้านครับ ลองไปดูชาวบ้านรอบๆบ้านของท่านปราชญ์แล้วกันครับว่า เขาให้การยอมรับหรือได้ประโยชน์มากแค่ไหน "นอบน้อม" กับนักวิชาการ แต่ "กร่าง" กับชาวบ้าน เพราะ"ผลประโยชน์" และ "ชื่อเสียง" หรือไม่ ที่ทำให้ท่าน"ถ่ายทอดด้วยท่วงทีของผู้ให้" ทำไมคนที่เข้าไปมักจะเป็นนักวิชาการที่สนใจ "แนวคิด" ในขณะที่ชาวบ้านเข้าไปเพราะมีเงินจ้างให้ไปนั่งหน้าสลอนคนละ 100 บาท
- "ห้อยโตงเตง" คือ การขึ้นหิ้งแบบชาวบ้านครับ ลองไปดูชาวบ้านรอบๆบ้านของท่านปราชญ์แล้วกันครับว่า เขาให้การยอมรับหรือได้ประโยชน์มากแค่ไหน "นอบน้อม" กับนักวิชาการ แต่ "กร่าง" กับชาวบ้าน เพราะ"ผลประโยชน์" และ "ชื่อเสียง" หรือไม่ ที่ทำให้ท่าน"ถ่ายทอดด้วยท่วงทีของผู้ให้" ทำไมคนที่เข้าไปมักจะเป็นนักวิชาการที่สนใจ "แนวคิด" ในขณะที่ชาวบ้านเข้าไปเพราะมีเงินจ้างให้ไปนั่งหน้าสลอนคนละ 100 บาท
- "ห้อยโตงเตง" คือ การขึ้นหิ้งแบบชาวบ้านครับ ลองไปดูชาวบ้านรอบๆบ้านของท่านปราชญ์แล้วกันครับว่า เขาให้การยอมรับหรือได้ประโยชน์มากแค่ไหน "นอบน้อม" กับนักวิชาการ แต่ "กร่าง" กับชาวบ้าน เพราะ"ผลประโยชน์" และ "ชื่อเสียง" หรือไม่ ที่ทำให้ท่าน"ถ่ายทอดด้วยท่วงทีของผู้ให้" ทำไมคนที่เข้าไปมักจะเป็นนักวิชาการที่สนใจ "แนวคิด" ในขณะที่ชาวบ้านเข้าไปเพราะมีเงินจ้างให้ไปนั่งหน้าสลอนคนละ 100 บาท
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท