recommendation จาก CPG stroke rehabilitaton ด้าน motor ในวารสาร Stroke 2005 ; 36 ; 100-143


stroke rehab

  Motor-funtioning-strengthening

  ควรฝึก strengthening ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันที่มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ

  Partial Body Weight Support for Treadmill Training

  การฝึกเดินด้วยลู่วิ่งกลโดยมีการพยุงน้ำหนักบางส่วนมีประโยชน์ในการฝึกร่วมกับการรักษาแบบดั้งเดิมในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีปัญหาการเดินในระดับ mild ถึง moderate

  Constraint-Induced Movement Therapy  (ฝึกโดยไม่ใช้แขนข้างดี)

  การฝึกโดย CI therapy  ควรเลือกใช้ในผู้ป่วยดังนี้  wrist extension 20 องศา  finger extension 10 องศา และไม่มีการสูญเสียการรับความรู้สึกและกระบวนการรับรู้ (cognitive)  ผลของการฝึกอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน  อย่างน้อย 2 สัปดาห์

  Functional Electrical Stimulation

  1.ควรใช้ FES ในผู้ป่วยที่มี impair muscle contraction  โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่มี motor  impairment ของข้อเท้า  ข้อเข่าและข้อมือ

  2.ควรใช้ FES ในผู้ป่วยที่มี shoulder subluxation

  3.ไม่มีหลักฐานงานวิจัยที่เพียงพอในการใช้ multichannel FES สำหรับผู้ป่วยที่มี severe hemiplegic และมี gait impairment

  4.ควรใช้ FES ในการฝึกเดินในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

  Neurodevelopmental Training for Motor Retraining

  ไม่มีหลักฐานงานวิจัยที่เพียงพอในแนวทางการฝึก NDT กับ แนวทางการฝึกแบบอื่นๆภายหลังจากโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน

  Spasticity

  1.spasticity และ contracture ควรรักษาโดยการจัดท่าทางเพื่อลด spasticity , ROM exercise , stretching , splinting , serial casting , การผ่าตัดแก้ไข

  2.ควรใช้ tizanidine , dantrolene และ oral baclofen  ในภาวะ spasticity มีผลต่อ pain , poor skin hygiene , การลด function

 Tizadine ควรใช้ในผู้ป่วย chronic stroke

  3.การใช้ diazepam หรือ benzodiazepenes ในช่วง recovery stroke อาจทำให้ recovery ลดลง และมีผลด้าน sedation 

  4.การพิจารณาใช้ Botulinum toxin หรือ phenol/alcohol ในผู้ป่วยที่มี disabling หรือ painful spasticity หรือ spasticity มีผลใน poor skin hygiene หรือลด function

  5.การพิจารณาใช้ intrathecal baclofen ในผู้ป่วย Chronic stroke ที่มี spasticity มีผลใน pain , poor skin hygiene หรือลด function

  6.การพิจารณากระบวนการผ่าตัด เช่น dorsal rhizotomy หรือ dorsal root entry zone lesionในผู้ป่วยที่มี spasticity มีผลใน pain , poor skin hygiene หรือลด function

  Biofeedback

  จากการประชุมไม่มีข้อเสนอแนะเพื่อใช้เป็น routine

  Shoulder Pain

  1.การพิจารณาเพื่อป้องกันอาการปวดไหล่

  • ใช้ ES เพื่อปรับปรุง Shoulder rotation
  • ใช้ Shoulder  strapping (sling)
  • การให้ความรู้เพื่อป้องกันอุบัติเหตุต่อข้อไหล่ข้างอ่อนแรง

  2.ควรหลีกเลี่ยงการใช้ Overhead pulley ซึ่งไม่สามารถควบคุม  Shoulder abduction

  3.การพิจารณาเพื่อการรักษาอาการปวดไหล่

  • Intra-articular injections (Triamcinolone)
  • Shoulder strapping
  • การเพิ่ม ROM ใช้เทคนิค stretching , mobilization  โดยเฉพาะ external rotation และabduction เพื่อป้องกัน frozen shoulder และ shoulder hand pain syndrome
  • ใช้ modality เช่น ice , heat , soft tissue massage
  • ใช้ Functional ES
  • ใช้ strengthening
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 33053เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2006 13:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 02:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท