ระบบการติดตามแบบอิเล็กทรอนิกส์


การติดตามผลการปฏิบัติงานของสพท.หนองบัวลำภู เขต 1
แนวทางการจัดการความรู้สำหรับเขตพื้นที่การศึกษา
1.การกำหนดโครงสร้างการจัดการความรู้และผู้รับผิดชอบ
1.1    ทีมบริหารความรู้ประกอบด้วย
ผู้บริหารความรู้ ( Chief Knowledge officer : CKO )  ผอ. สพท. และทีมบริหารได้แก่
รองผอ. สพท.  และ ผช.ผอ. สพท. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
1.2    ทีมที่ปรึกษา  ได้แก่บุคคลจากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้
1.3    ทีมผู้รับผิดชอบหรือทีมแกนนำ  ประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่าย   ทำหน้าที่กระตุ้น
1.4     จุดประกาย  และจัดกิจกรรมที่มุ่งให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing : KS )
        เป็นผู้ที่มีทักษะในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้
1.5    ทีมนักปฏิบัติ (Knowledge Practices) เป็นผู้ที่มีความรู้ ( Explicit    Knowledge & Tacit Knowledge )  ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานจริง  ประมารณ ร้อยละ 90 – 95 ของงานนั้น ๆ
1.6    ทีมเลขา  ทำหน้าที่ประสานระหว่างทีมต่าง ๆ   นัดประชุมคณะทำงานและทำรายงานการประชุม  รวบรวมรายงาน   ความคืบหน้า  การดำเนินงาน  ประสานงานและดูแลระบบ ICT
1.5.1 ผู้ประสานงานเครือข่าย ( Network Management )
                                1.5.2 ผู้ดูแลระบบ ICT
                      1.6  ทีมงานอื่น ๆ ที่ สพท. เห็นว่าจำเป็น
2.  จัดทำแผนการจัดการความรู้
                                เป็นการดำเนินงานรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในหน่วยงานที่กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล
หรือเอกสาร  นำมาจัดเก็บและเผยแพร่ทั้งในส่วนของความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge ) และความรู้
ที่ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge )  เพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานสามารถเข้าถึงความรู้   นำความรู้ไปใช้
ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ    เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดทำแผนการจัดความรู้ 2 ลักษณะคือ
1.       แผนการจัดการความรู้ตามความต้องการของ สพท.
กิจกรรมใดจะทำเมื่อไหร่  อย่างไร  ใครรับผิดชอบ  ก่อนการจัดทำแผนควรจะมีกระบวนการสำรวจ 
ความต้องการของ สพท. ก่อนว่าต้องการความรู้อะไรที่จะช่วยผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของ สพท.  บรรลุเป้าหมาย
2.       แผนการจัดการความรู้ตามจุดเน้นหรือนโยบายของ สพฐ
เป็นแผนการจัดกิจกรรมเฉพาะกิจหรือเป็นกรณีพิเศษเป็นนโยบายหรือกิจกรรมที่จำเพาะเจาะจง
ลงไปว่าจะต้องดำเนินการใน สพท. และในปีงบประมาณ 2549 เช่นการจัดทำคำรับรอง
****  สามารถนำแผน 1 และ 2   หลอมรวมเป็นแผนเดียวกันได้****
ปีงบประมาณ  พ.ศ. 2549   สพฐ ได้กำหนดแผนด้านการพัฒนาการจัดความรู้ในองค์กร  ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้ทุก สพท.
ต้องดำเนินการโดยมีเป้าหมาย
ลำดับ
ตัวชี้วัด
เป้าหมายตัวชี้วัด
กิจกรรม
ระยะเวลา
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ
1
จำนวนครูที่ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในสถาบันในประเทศ
จำนวนครูที่ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน …...คน
1. พัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษร่วมกับสถาบันในประเทศ
..................
..................
..................
2
ระดับความสำเร็จในการจัดตั้ง
KNOWLEDGE MANAGEMENT CENTER
มี KNOWLEDGE  MANAGEMENT CENTER .......  เว็บไซต์
2. จัดทำ KNOWLEDGE MANAGEMENT CENTER เพื่อเป็นฐานความรู้ เก็บรวบรวม Best Practice และ Working Knowledge  โดยพัฒนาจาก เว็บไซต์ที่ สพฐ. ได้พัฒนาขึ้น
..................
..................
..................
3
จำนวนระบบฐานข้อมูล การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
จำนวนความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ .. ...เรื่องต่อเดือน
3. การจัดการความรู้ที่นำเสนอผ่าน KMC
..................
..................
..................
4
จำนวนช่องทางในการเข้าถึงความรู้
มีช่องทาง ICT และ CoPs ชุมชน
นักปฏิบัติ หรือ ชมรมวิชาการที่เกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการสอนภาษาอังกฤษ…….ชมรม
4.     สร้างช่องทางในการเข้าถึงความรู้ ด้วย ICT และ Cops
..................
..................
..................
5
จำนวนผู้เข้ามาใน Sharing Board
จำนวนผู้เข้ามาใน Sharing Board  .......ครั้ง
5.        จัดทำ Sharing Board
..................
..................
..................
6
จำนวนบุคลากรที่ได้นำความรู้การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไปสู่การปฏิบัติ
จำนวนบุคลากรที่ได้นำความรู้การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษไปสู่การปฏิบัติ.......คน
6.        จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครูในสังกัด
..................
..................
..................
7
จำนวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา
จำนวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาจากกิจกรรมในหลักสูตรและนอกหลักสูตร เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ .........คน
7. จัดกิจกรรมการเรียนภาษาอังกฤษในหลักสูตร และนอกหลักสูตร
..............................
..........................
..........................
ผู้อนุมัติ :  ……………………………………………….  ( CKO )
                                                                                                                                                                                                                        (                                                                          )
                                                                                                                                                                                       ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1
คำชี้แจง
1.        ตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัดให้สพท. ยึดตามที่ สพฐ. กำหนด และสามารถเพิ่มเติมตัวชี้วัดและเป้าหมายตัวชี้วัดได้
  1. ระบุกิจกรรมที่ทำให้ตัวชี้วัดบรรลุผลให้ชัดเจน พร้อมทั้งระบุ ระยะเวลา งบประมาณ และผู้รับผิดชอบ (บุคคลหรือหน่วยงาน)

3. แนวการดำเนินการจัดการความรู้
                เป็นเรื่องที่ สพท. ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ควรมีขั้นตอนดำเนินการอย่างเป็นลำดับดังต่อไปนี้
                3.1 สร้างความเข้าใจในการจัดการความรู้
                CKO หรือ ผอ.สพท. และสถานศึกษาและทีมจัดการความรู้ ต้องเร่งทำความเข้าใจ  อธิบายทิศทาง   ความจำเป็นของการจัดการความรู้ให้แก่บุคลากรทางการทุกคน  เพื่อให้เกิดการปฏิบัติร่วมกันเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เช่น กิจกรรมการเปิดตัว  KM หรือ Kick of KM เป็นต้น
                3.2 สร้างเครือข่ายความรู้หรือรวบรวมทุนปัญญา
                ควรนำเอาองค์ความรู้ที่มีอยู่ในรูปความสนใจ  กลุ่มวิชาการต่าง ๆ  มาเก็บรวบรวม  และแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ Knowledge  Management  Center  ( KMC )
                3.2.1 การรวบรวมความรู้  เริ่มจากการสำรวจ  ความรู้ที่มีอยู่ในหน่วยงาน   ทั้งในรูปของผลงานหรือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ  Best Practic  ควบคู่กับ การเสาะหาความรู้จากภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนางานภายในหน่วยงานรวมทั้ง  การสรุปสาระของหนังสือ ( Book Brief )   จะทำให้บุคลากรสามารถมองเห็นวิธีลัดในการพัฒนาคุณภาพหรือประสิทธิภาพของการทำงานได้ง่าย  ผู้ที่ทำหน้าที่คือทีมปฎิบัติหรือเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานเดียวกันหรือต่างหน่วยงานรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการทำงานหรือความรู้เพื่อการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่งในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ
                3.2.2  วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญของหนังสือ ( Book  Brief )  เป็นการวิเคราะห์เอกสาร  หนังสือ    ที่น่าสนใจและทำความเข้าใจนำไปประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานได้ง่าย
3.2.3การจัดตั้งศูนย์การจัดการความรู้  Knowledge Management Center :KMC
เป็นการนำเอาความรู้ให้ผู้รับผิดชอบ ICT   จัดเก็บไว้ใน  KMC      ตามกลุ่มความรู้ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ได้แบ่งกลุ่มความรู้ออกเป็น 6 กลุ่ม  คือ
                                1. ความรู้ในการปฏิบัติงาน ( Working   Knowledge )
                                2. กระบวนการ / วิธีการปฎิบัติงานที่เป็นเลิศ ( Besst  Practices )
                                3. สรุปสาระสำคัญของหนังสือ (Book  Brief)
                                4. ความรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความรู้ (Knowledge Sharing Board )
                                5. ความรู้จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ ( Ask  an Expert )
                                6. ความรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( e – Knoledge )
                ผู้รับผิดชอบความรู้ต้องตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่า
การนำเสนอ
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 32455เขียนเมื่อ 31 พฤษภาคม 2006 13:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:04 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท