การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหลักเป็นครั้งคราว


Discrete-event systems เป็นเรื่องธรรมชาติของระบบเกษตรและชนบท

การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหลักของระบบเกษตรและชนบทอย่างเป็นครั้งคราว หรือ Discrete-event systems เป็นเรื่องธรรมชาติของระบบเกษตรและชนบท และสามารถใช้หลักการของการกระจาย (Probability distributions) ช่วยจับความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหลักเหล่านี้ได้อย่างน้อย ๕ แบบของการกระจายตัว ได้แก่

1. การกระจายตัวแบบ Binomial (ไบ-โน-เมียล)

2. การกระจายตัวแบบ Normal distribution (นอ-มอล)

3. การกระจายตัวแบบ Poisson distribution (พัว-ซอน)

4. การกระจายตัวแบบ Exponential distribution (เอซ-โป-เนน-เซียล)

5. การกระจายตัวแบบ Gamma distribution (แกม-ม่า)

------------------------------------------

อรรถชัย จินตะเวช, เชียงใหม่

๓๐ พ.ค. ๒๕๔๙

หมายเลขบันทึก: 32209เขียนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2006 18:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 พฤษภาคม 2012 20:40 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

เรียนสอบถามอาจารย์ครับ ว่า การกระจายตัวแต่ละแบบหมายความว่าอย่างไรครับ และอยากให้ยกตัวอย่างระบบเกษตรของการการกระจายแต่ละอย่างด้วยครับ เพื่อความเข้าใจที่มากขึ้น ขอบพระคุณอย่างสูงครับ

on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:

 

อรรถชัย จินตะเวช on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:
ขอบคุณมากครับ
ความหมายและเรื่องราวของการกระจายตัวแต่ละแบบจะค่อย ๆ เขียนเพิ่มเติมตามลำดับครับ แต่ที่น่าใจมากกว่าความหมายของการกระจายตัวแต่ละชนิด ได้แก่ ค่าของตัวแปรหลักของระบบมีความสัมพันธ์กับโอกาสที่จะเกิดซึ่งขึ้นกับการกระจายตัวแต่ละชนิด ตัวอย่างที่ใกล้กับทางเกษตร จะเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยซึ่งเกษตรกรต้องรับภาระและเจรจากับทางธนาคาร เช่น
อัตราดอกเบี้ย (10%) โอกาสที่จะเกิด
  2.0                          0.15
  2.5                          0.15
  3.0                          0.15
  4.0                          0.15
  7.0                          0.10
  8.0                          0.10
10.0                          0.05
12.0                          0.05
15.0                          0.05
20.0                          0.05
ผลรวมของโอกาสที่จะเกิดของอัตราดอกเบี้ยอัตราต่าง ๆ = 1.00
 
ในทางวิชาการการเขียนความสัมพันธ์ระหว่างค่าของตัวแปรและการกระจายตัวแต่ละชนิดนั้นเป็นวิธีการที่ไม่นิยม เพราะอาจจะผิดพลาดได้ง่ายและตรวจสอบยาก ส่วนใหญ่นิยมใช้สมการทางคณิตศาสตร์ช่วย และปัจจุบันก็มีคอมพิวเตอร์มาช่วยให้งานประเภทนี้ง่ายขึ้น และเชื่อว่าจะสามารถอธิบายให้เข้าใจได้สะดวกขึ้น
 
อรรถชัย จินตะเวช, เชียงใหม่
๓๐ พ.ค. ๒๕๔๙

 

on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:

 

อรรถชัย จินตะเวช on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:
ขอบคุณมากครับ
ความหมายและเรื่องราวของการกระจายตัวแต่ละแบบจะค่อย ๆ เขียนเพิ่มเติมตามลำดับครับ แต่ที่น่าใจมากกว่าความหมายของการกระจายตัวแต่ละชนิด ได้แก่ ค่าของตัวแปรหลักของระบบมีความสัมพันธ์กับโอกาสที่จะเกิดซึ่งขึ้นกับการกระจายตัวแต่ละชนิด ตัวอย่างที่ใกล้กับทางเกษตร จะเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยซึ่งเกษตรกรต้องรับภาระและเจรจากับทางธนาคาร เช่น
อัตราดอกเบี้ย (10%) โอกาสที่จะเกิด
  2.0                          0.15
  2.5                          0.15
  3.0                          0.15
  4.0                          0.15
  7.0                          0.10
  8.0                          0.10
10.0                          0.05
12.0                          0.05
15.0                          0.05
20.0                          0.05
ผลรวมของโอกาสที่จะเกิดของอัตราดอกเบี้ยอัตราต่าง ๆ = 1.00
 
ในทางวิชาการการเขียนความสัมพันธ์ระหว่างค่าของตัวแปรและการกระจายตัวแต่ละชนิดนั้นเป็นวิธีการที่ไม่นิยม เพราะอาจจะผิดพลาดได้ง่ายและตรวจสอบยาก ส่วนใหญ่นิยมใช้สมการทางคณิตศาสตร์ช่วย และปัจจุบันก็มีคอมพิวเตอร์มาช่วยให้งานประเภทนี้ง่ายขึ้น และเชื่อว่าจะสามารถอธิบายให้เข้าใจได้สะดวกขึ้น
 
อรรถชัย จินตะเวช, เชียงใหม่
๓๐ พ.ค. ๒๕๔๙

 

on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:

 

อรรถชัย จินตะเวช on Tue May 30 18:23:11 2006 wrote:
ขอบคุณมากครับ
ความหมายและเรื่องราวของการกระจายตัวแต่ละแบบจะค่อย ๆ เขียนเพิ่มเติมตามลำดับครับ แต่ที่น่าใจมากกว่าความหมายของการกระจายตัวแต่ละชนิด ได้แก่ ค่าของตัวแปรหลักของระบบมีความสัมพันธ์กับโอกาสที่จะเกิดซึ่งขึ้นกับการกระจายตัวแต่ละชนิด ตัวอย่างที่ใกล้กับทางเกษตร จะเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยซึ่งเกษตรกรต้องรับภาระและเจรจากับทางธนาคาร เช่น
อัตราดอกเบี้ย (10%) โอกาสที่จะเกิด
  2.0                          0.15
  2.5                          0.15
  3.0                          0.15
  4.0                          0.15
  7.0                          0.10
  8.0                          0.10
10.0                          0.05
12.0                          0.05
15.0                          0.05
20.0                          0.05
ผลรวมของโอกาสที่จะเกิดของอัตราดอกเบี้ยอัตราต่าง ๆ = 1.00
 
ในทางวิชาการการเขียนความสัมพันธ์ระหว่างค่าของตัวแปรและการกระจายตัวแต่ละชนิดนั้นเป็นวิธีการที่ไม่นิยม เพราะอาจจะผิดพลาดได้ง่ายและตรวจสอบยาก ส่วนใหญ่นิยมใช้สมการทางคณิตศาสตร์ช่วย และปัจจุบันก็มีคอมพิวเตอร์มาช่วยให้งานประเภทนี้ง่ายขึ้น และเชื่อว่าจะสามารถอธิบายให้เข้าใจได้สะดวกขึ้น
 
อรรถชัย จินตะเวช, เชียงใหม่
๓๐ พ.ค. ๒๕๔๙

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท