การสานแห


การสานเเห

                                       ชื่อเรื่อง  การสานแห

ผู้เสนอโครงงาน               1.นาย จิรพงศ์  เทพนอก

                                   2.นาย เจนภพ  อินทร์ประโคน

                                   3.นาย พิชิตชัย  ทิศกระโทก

                                   4.นาย วีรยุทธ  สอนสิลา

                                   5.นาย อาทิตย์  กองกาญจน์

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน  อาจารย์ ศิริพร  วีระชัยรัตนา

ข้อมูลของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะศึกษา การสานแห

จุดประสงค์    1.สามารถประกอบอาชีพได้

                  2.เผยแผ่ให้ผู้คนทั้วไปได้รับรู้วิธีการสานแห

                  3.เผยแผ่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

การศึกษาข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อมาเผยแผ่ให้ผู้คนทั่วไป ได้รับรู้ภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งการสานแหได้รับคำแนะนำจาก นายอุทัย อาจกลาง และเป็นการศึกษาข้อมูลที่นอกเหนือจาการเรียนในห้องเรียน

วิธีดำเนินการ

การสานแหได้รับข้อมูลจาก นายอุทัย อาจกลาง ณ บ้านหนองจิก และรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนในการสานแหและนำข้อมูลลงในเว็บ Gotoknow

สรุปผลการศึกษา

การสานแหยังสามารถนำมาจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ได้

อภิปรายผล ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ

การสานแหยังสามารถมาประกอบอาชีพและเป็นสินค้าที่เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว อีกทั้งยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีให้สืบทอดต่อไป 

การประเมินโครงงาน

      มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ งานกลุ่มมีประโยชน์มีความเป็นจริง ความถูกต้องเนื้อหามีการศึกษาและลงมือปฎิบัติอย่างถูกต้องและมีแหล่งข้อมูล

 

       

                     

                                                   

                                                         

หมายเลขบันทึก: 318870เขียนเมื่อ 8 ธันวาคม 2009 13:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 11:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

มีข้อมูลไม่มากเลย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท