การวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการสอนโดยการใช้ลูกวอลเลย์บอล แรงดันลมต่ำ ที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียน


ความสำคัญของแรงดันลมต่ำของลูกวอลเลย์บอล

ความสำคัญของปัญญหา
            1    นักเรียนไม่สามารถใช้แขนท่อนล่างปะทะลูกวอลเลย์บอลจากการเล่นลูกสองมือล่างได้ดี  จากการเล่นลูกวอลเลย์บอลมีแรงดันลมปกติ  ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
วัตถุประสงค์การวิจัย
            1    ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง ขั้นพื้นฐานด้วยลูกวอลเลย์บอลมีแรงดันลม  2.70 – 2.80  ก.ก./ ต.ร.ซ.ม.
วิธีดำเนินการวิจัย
            1.  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
                    - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.10 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี  อำเภอเมือง  จังหวัดพิษณุโลกจำนวน  57 คน   ภาคเรียนที่ 1   ประจำปีการศึกษา  2548   ซึ่งได้จากการแบ่งเป็นกลุ่ม ตอน  ก  และตอน  ข
                             (1)      ตอน ก   กลุ่มปกติ  เลขที่  1 – 28
                             (2)      ตอน ข    กลุ่มทดลอง  เลขที่  29 – 57  
(กลุ่มใช้ลูกวอลเลย์บอลแรงดันลมต่ำ ( 2.70 – 2.80  กก./ ต.ร. ซ.ม.)

(วันนี้ขอนำเสนอในเบื้องต้นแล้วจะรายงานให้ทราบต่อ)

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 31882เขียนเมื่อ 29 พฤษภาคม 2006 23:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 19:50 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ตอนนี้ อาพงศ์สอนวอลเล่ย์บอลอยู่เหมือนเดิมใช่มั้ยครับ  คือต้องการติดต่อกับอาพงศ์มากเลย

แรงดันลมของลูกวอลเลย์มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เล่นลูกวอลเลย์บอลมีแรงดันลมปกติ  ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ

เอ  มันชักจะยังไง 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท