Error ในการวิจัย สิ่งที่มองข้ามไม่ได้


Error ในการวิจัย, การป้องกันเพื่อให้งานวิจัยมีค่าความจริงสูงสุดตั้งแต่ระยะแรก ย่อมดีกว่า(ทุกเรื่อง)การปฏิเสธไม่ยอมรับงานวิจัยนั้นในภายหลัง หรืออาจจะร้ายไปกว่านั้นคือการนำงานวิจัยที่มีค่าความจริงน้อยไปใช้โดยไม่ทราบว่ามีค่าความจริงน้อยมาก

Error ในการวิจัย
ผมได้ แปลงจากไฟล์ PowerPoint ของ ผศ.นพ.นภดล  สุชาติ  พ.บ. M.P.H.
นำมาเสนอไว้ให้นักวิจัยได้ใช้ประโยชน์ครับ

ผลวิจัย =Truth + Errors
     หรือ ผลวิจัย = ความจริง (Truth) + ความคลาดเคลื่อน (Errors)

ชนิดของความคลาดเคลื่อน (Errors) มี 2 ชนิด คือ
     ความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ (Systematic Errors) หรืออคติ (Biases)
     ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (Random Errors)

ชนิดของอคติ (Biases)
     Information Bias => Selection Bias
     Performance Bias
     Measurement Bias
     Confounding Bias

Selection Bias
     Flaw in study design
     Choice of sampling frame
     Choice of comparison group
     Loss of follow up
     Non respond
     Selective survivals

Information Bias
     Invalid Measurement
     Incorrect diagnostic criteria
     Omission/Imprecision of recorded data
     Unequal diagnostic surveillance

Confounding Bias
     Confounder effects both cause and consequence of the study
     Age is confounder for contraceptive and myocardial infarction study. 
     Major Confounder e.g. Age, Sex, Race, Occupation

Bias & Random Error
     Bias แก้ไขโดยออกแบบงานวิจัยให้ไม่มี Bias ในการซักประวัติและรักษา เช่นใช้วิธี Double Blind แพทย์ไม่รู้ว่าใครเป็นกลุ่ม 1 หรือ 2 ยาที่ใช้รักษาก็รูปร่างเหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม
     Random Errors แก้ไขโดยเพิ่ม Sample size

สาเหตุความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ
     สำรวจประชากรวิจัยไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย
     สุ่มประชากรเฉพาะบางกลุ่ม
     ให้ข้อมูลลำเอียง ถ้ารู้ว่าสูบบุหรี่จะซักประวัติโรคมากกว่า
     วัดผลลำเอียง สนใจเฉพาะการรักษาแบบใหม่จึงซักถามมากกว่า

สาเหตุความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม
     จำนวนตัวอย่างน้อยเกินไป

ลดความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ
     Good Sampling technique: Sampling Frame
     Criteria for selection cases and controls
     Reduce recall bias, compliance bias
     Reduce confounding factors: randomized
     Blind study: single, double, triple blinded


Type of Errors (อยู่ในลักษณะตารางครับ)

 

  The truth

 

 Conclusion from Analysis  

A = B

A < > B

A = B

Correct

 b Error

 A < > B

a Error 

Correct


                                                        
                                                                                                        

3 Phase of Study
     Efficacy ทำได้สำเร็จในห้องทดลอง
     Effectiveness ทำได้ผลในสถานการณ์จริง (มีประสิทธิผล)
     Efficiency ผลได้เทียบกับต้นทุนได้ผลคุ้มค่า (มีประสิทธิภาพ)

Random error, Systematic error
     ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (Random Error) นั้น เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก การวัดตัวแปร ที่กำหนดแต่ละครั้ง
     ความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (Systematic error) หรือ Bias นั้น เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก เครื่องมือที่ใช้วัดตัวแปร

รูปแบบการค้นหาคำตอบจากการวิจัย

เริ่มที่                 คำภามวิจัย (Research Question)

ได้เป็น               ผลการวิจัย (ข้อเท็จจริง)

ซึ่งประกอบด้วย   ค่าความจริง (True Value)  + ค่าความเท็จ (Error)

และค่าความเท็จ (Error) จะประกอบด้วย
                        แบบสุ่ม (Random Error) + แบบเป็นระบบ (Systematic Error หรือ Bias)

Random Error
     แก้ไขโดยเพิ่ม Sample size ให้พอเพียง

Systematic Error = Bias
     แก้ไขโดยการออกแบบระบบ
     แก้ไขง่ายกว่า เช่น ถ้าติดแถบวัดส่วนสูงผิดพลาดโดยติดไว้สูงกว่าปกติ 1 ซม. แก้ไขให้ถูกต้องโดยปรับแก้ส่วนสูงที่วัดได้ทุกๆคน

Bias
     Selection Bias
     Performance Bias
     Measurement Bias แก้ไขโดย blinding
     Confounding Bias

Co-intervention
     ส่วนใหญ่เกิดกับ Study Group โดยดูแลอย่างพิถีพิถัน
     Co-intervention เพิ่มการรักษาในกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุมเพียงกลุ่มเดียว เช่น เมื่อให้ยาใหม่ก็ทดสอบ EKG บ่อยๆ เพียงกลุ่มเดียว ส่วนอีกกลุ่มที่ได้ยามาตรฐานก็ไม่ทดสอบ
     แก้ไขด้วยวิธี Double Blind ผู้ป่วยจะไม่ทราบว่าได้ยาชนิด 1 หรือ 2 แพทย์ก็จะไม่ทราบเช่นกันว่าได้จ่ายยาชนิด 1 หรือ 2

Contamination
     Control group ได้รับ intervention ไปด้วย
     Contamination ผู้ป่วยกลุ่ม 1ได้ยาของผู้ป่วยกลุ่ม 2 ไปด้วย
     แก้ไขด้วยวิธี Double Blind ผู้ป่วยจะไม่ทราบว่าได้ยาชนิด 1 หรือ 2 แพทย์ก็จะไม่ทราบเช่นกันว่าได้จ่ายยาชนิด 1 หรือ 2

Howthorn Effect
     ตั้งแต่ปี 1920 เมื่อ 80 กว่าปีมาแล้วที่โรงงาน GE  มีการทดลองในรูปแบบต่างๆ เพื่ออยากจะเห็นผลผลิตของโรงงาน GE สูงขึ้น  
     แบบที่หนึ่งให้ทำงาน 4 วัน วันละ 10 ชั่วโมง 
     หรือแบบที่ 2 ทำงาน 5 วันๆ ละ 8 ชั่วโมง 
     ผลปรากฏว่าผลผลิตสูงขึ้นทั้งสองอย่าง

Howthorn Effect
     คำถามคือ เกิดอะไรขึ้น ทำไมเมื่อปรับวิธีการทำงานเป็น 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ไม่ว่าจะปรับแบบที่หนึ่งหรือแบบที่สอง ผลผลิตสูงขึ้นทั้งคู่ 
     สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือคนทำงานรู้ว่าถูกเฝ้ามองจากฝ่ายบริหาร ผู้บริหารกำลังให้ความสนใจ คนงานจึงขยันมากขึ้น ผู้ควบคุมก็ขยันมากขึ้น ปรับอย่างไรผลผลิตก็สูงขึ้นตลอดเวลา

Blinding
     Single Blind
     Double Blind
     Triple Blind

ตัวอย่าง Bias
     Recall Bias ซักย้อนหลังไปนานจึงจำไม่ได้
     Exposure Suspicion Bias ผู้สัมผัสสิ่งคุกคามจะถูกซักถามมากกว่า

Detect Bias in Research
     There are a variety of ways that 
     research might be biased in
     design, data analysis, and interpretation.

          หมายเหตุ : ในช่วงนี้ผลกำลังขยายเพื่ออธิบายในแต่ละประเด็นโดยใช้การสื่อสารที่เข้าใจง่าย ๆ ให้เพื่อน ๆ พี่ ๆ และน้อง ๆ หมออนามัย รวมถึงผู้ที่เริ่มต้นจะทำวิจัย ครับ เพราะด้วยเหตุผลว่าการป้องกันเพื่อให้งานวิจัยมีค่าความจริงสูงสุด ตั้งแต่ระยะแรก ย่อมดีกว่า (ทุกเรื่อง) การปฏิเสธไม่ยอมรับงานวิจัยนั้นในภายหลัง หรืออาจจะร้ายไปกว่านั้นคือการนำงานวิจัยที่มีค่าความจริงน้อยไปใช้โดยไม่ทราบว่ามีค่าความจริงน้อยมาก  และจะได้นำเสนอไปตามลำดับที่เวลาเอื้ออำนวยครับ

 

หมายเลขบันทึก: 3138เขียนเมื่อ 28 สิงหาคม 2005 18:49 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มีนาคม 2015 08:30 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท