kae
นางสาว สุดาพันธ์ อ้วนโสดา

ตัวชี้วัดโรคเรื้อรัง(เบาหวานความดันฯ)


ตัวชี้วัด

สรุปผลการดำเนินงานคลินิกเบาหวานปีงบประมาณ 2551( ต.ค. 50 ก.ย. 51) 

ลำดับ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย (%)

ผลงานปี 49 (%)

ผลงานปี 50

(%)

ผลงานปี 51

(%)

 

1

ผู้ป่วยได้รับการตรวจน้ำตาลสะสม HbA1C อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

80

47.5 %

(282/593)

89.8 %

(705/785)

93.6 %

(728/777)

 

2

ระดับน้ำตาลสะสม HbA1C เฉลี่ย HbA1C เฉลี่ย < 7 Good control / ดี)

≥ 50

40.4 %

(114/282)

43.4 %

(306/705)

46.2 %

(354/766)

 

 

HbA1C เฉลี่ย  7-8 (Fair control / พอใช้)

30

20.5 %

24 %

(169/705)

26.2 %

(201/766)

 

 

HbA1C  เฉลี่ย  > 8  (แย่)

 

NA

28 %

(197/705)

26.2 %

(201/766)

 

3

ได้รับการตรวจ Screening DR โดยจักษุแพทย์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

80

59.5 %

(353/593)

48 %

(377/785)

73.4 %

(571/777)

 

4

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา  (ตรวจพบ NPDR)       

≤ 30.7

NA

30 %

(113/377)

26.2 %

(150/571)

 

5

ประเมินภาวะแทรกซ้อนทางไตและตรวจโรคซึ่งพบร่วมในผู้ป่วย เบาหวานโดยส่งตรวจ

- Creatinine อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

- Cholesterol อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

> 80

 

> 80

 

 

12.6 %

 

12.6 %

 

 

56.6 % (445/785)

46.8 % (368/785)

 

 

81.4 %

(633/777)

72.7 %

(565/777)

 

6

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต

-  ตรวจพบไข่ขาวในปัสสาวะตั้งแต่ Trace ขึ้นไป  2  ครั้งCreatinine ≥ 1.6

≤ 44

NA

14.83 %

(66/445)

14 %

(88/633)

 

7

ได้รับการตรวจ Screening urine protein

-  อย่างน้อยปีละ  2  ครั้ง

 

- ปีละ  1  ครั้ง

 

 

40

 

-

 

NA

 

NA

 

 

0.25 %

(2/785)

18.98 % (149/785)

 

3.7 %

(29/777)

36.8 % (286/777)

 

8

มีการประเมิน Diabetic foot  (complete foot exam)

60

NA

53.6 % (421/785)

57.9%

(450/777)

 

9

ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการสอนให้ตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างน้อย 1 ครั้ง

60

NA

53.6 % (421/785)

57.9%

(450/777)

 

10

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน DM  FOOT

< 3

NA

1.14

(9/785)

3.47

(27/777)

 

11

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน DM  FOOT จนต้องโดนตัดเท้า

O

NA

0.5% (4/785)

0.6% (5/777)

 

ลำดับ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย (%)

ผลงานปี 49 (%)

ผลงานปี 50

(%)

ผลงานปี 51

(%)

12

มีการประเมินภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท

30

NA

53.6 % (421/785)

57.9%

(450/777)

13

การให้ความรู้อย่างน้อยคนละ 6 เรื่อง

80

81.28

85.2% (669/785)

81.5%

(634/777)

14

ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็น

> 80

NA

87.26

80.4%

(510/634)

15

ความพึงพอใจ

> 80

71.54

86.5

85.4

16

อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่

5

1.2 %

(106/889)

10.9 %

(116/1059)

5.4 %

(63/1170)

17

อัตราตายผู้ป่วย DM

ไม่เกิน

1.5

1.9

(17/889)

1.6

(17/1059)

0.6

(7/1,170)

                   

 

หมายเหตุ

1. ผู้ป่วยเบาหวานที่รับการดูแลรักษาต่อเนื่อง  ต.ค. 50 – ก.ย. 51   จำนวน 777 ราย   

                                           ผู้ป่วยรายใหม่              จำนวน       63        ราย

3. ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ ระดับน้ำตาลสะสม HbA1C อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง                            จำนวน     728       ราย                       

4. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับ HbA1C เฉลี่ย < 7 good control) 354 ราย 

5. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับ HbA1C เฉลี่ย 7 - 8 (Fair control/ พอใช้)  201ราย

6. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับ HbA1C เฉลี่ย > 8 (แย่)      212       ราย

7. ได้รับการตรวจ Screening DR โดยจักษุแพทย์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 571   ราย

8.  เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา  (ตรวจพบ NPDR)     150       ราย

9. ได้รับการตรวจ Screening Creatinine อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  633       ราย

10. เกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต  (Creatinine  ≥ 1.6)     88          ราย

11. ได้รับการตรวจ Screening Cholesterol อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง    565       ราย

12. เกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต  จนต้องฟอกไต     นวน     3            ราย

13. เกิดภาวะแทรกซ้อน DM  FOOT     จำนวน     27          ราย

        จำนวนผู้ป่วยที่เสี่ยงถูกตัดนิ้ว(มีแผลแล้ว)  จำนวน     22         ราย

        เกิดภาวะแทรกซ้อน DM FOOT จนต้องโดนตัดเท้า จำนวน     5            ราย

 การประเมิน Diabetic foot (complete foot exam)ปีงบประมาณ 2551

 (ต.ค. 50 ก.ย. 51) 

1.  จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจเท้า จำนวน     450       ราย

2.  จำนวนผู้ป่วยที่มีการรับรู้ความรู้สึกที่เท้าปกติ   จำนวน     327       ราย

3.  ประเมิน Diabetic foot (complete foot exam) เริ่มมี Neuropathy (High Risk)    จำนวน 91        ราย    (91/777 = 11.7%)

4.  จำนวนผู้ป่วยที่เสี่ยงถูกตัดนิ้ว(มีแผลแล้ว)  จำนวน 22  ราย    (22/777 = 2.8%)

        4.1  แผลน้ำกัดเท้า  จำนวน  5     ราย

        4.2  บาดแผลถูกของมีคมและอื่น ๆ จำนวน    17         ราย

5. เกิดภาวะแทรกซ้อน DM FOOTจนต้องโดนตัดเท้า  5  ราย   (5/777 = 0.64%)

ยอดผู้ป่วย Amputate ตุลาคม 2550 กันยายน 2551

ลำดับ

HN

ชื่อ สกุล

บริเวณ

1

13436

นายยะ  มะหะหมัด

Toe

2

2183

นางฮะเซีย  ดาฮาตอ

ใต้เข่าขวา

3

30713

นายสาและ  อาแว

นิ้วเท้า

4

27106

นายไพบูลย์  น้ำใส

นิ้วเท้า

5

24229

นายเทียนชัย  มงคลทวีป

ตัดนิ้วเท้าเพิ่ม

ยอดผู้ป่วย DM Foot ตัดนิ้วเท้า รพ.ยะลา ปีงบประมาณ 2550

ลำดับ

HN

ชื่อ สกุล

1

49492

นายวิเวก    ขาวขำ

2

111993

นางบัวก๋าย     ป้อมห้วย

3

24229

นายเทียนชัย    มงคลทวีป

4

25124

นางมือเสาะ    ดาฮาตอ

    

หมายเหตุ   ปีงบประมาณ 2550

  เกิดภาวะแทรกซ้อน DM FOOT  จำนวน  9ราย

 จำนวนผู้ป่วยที่เสี่ยงถูกตัดนิ้ว(มีแผลแล้ว)      จำนวน     5        ราย

 เกิดภาวะแทรกซ้อน DM FOOT จนต้องโดนตัดเท้า  จำนวน     4     ราย

 สรุปผลการดำเนินงานคลินิกความดันโลหิตสูงปีงบประมาณ 2551

  (ต.ค. 50 ก.ย. 51)

ลำดับ

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย (%)

ผลงานปี 49 (%)

ผลงานปี 50

(%)

ผลงานปี 51

(%)

1

จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ได้  < 140/90  mm.Hg

50

42.8 %

 

55.19 %

(2,412/4,370)

72.6

(2,707/3,720)

2

จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการประเมินภาวะแทรกซ้อนทางไตและตรวจโรคซึ่งพบร่วมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดย

-  FBS                อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

 

- Creatinine       อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

 

- Cholesterol     อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

50

 

 

 

NA

 

NA

 

NA

 

 

 

38.2 %

(465/1,215)

37.3 %

(454/1,215) 35.5%

(432/1,215)

 

 

 

54.2 %

(696/1,284)

75.8 %

(974/1,284)

63.5 %

(816/1,284)

3.

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต(ค่า Creatinine  ≥ 1.6)

≤ 44

NA

11.1 %

(6/54)

8.6 %

(84/974)

4

อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง เช่น  Intracerebral  hemorrhage , Cerebral  infarction , Stroke , CVA

< 15

NA

13.8 %

(168/1,215)

5.3 %

(69/1,284)

5

ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็น

 

> 80

NA

82.22 %

81 %

6

ความพึงพอใจ

 

> 80

82.5 %

86.5 %

85.4 %

7

อัตราตายผู้ป่วย HT

ไม่เกิน 1.5

1.9

(40/2059)

1.8

(44/2399)

0.4

(5/1,284)

8

อัตราผู้ป่วย HT รายใหม่

3.5

9.5

(196/2059)

5.3

(127/2399)

4.0

(107/2659)

หมายเหตุ

  1. ผู้ป่วยความดันฯที่ขึ้นทะเบียนในคลินิกความดันฯและรับการดูแลรักษาต่อเนื่องปี 2551  จำนวน    1,284     ราย                                                                                                                       ผู้ป่วยรายใหม่    จำนวน    107         ราย
  2. จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ได้  < 140/90   mm.Hg 2,707       ครั้ง
  3.  จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ  ทั้งหมด   3,720       ครั้ง 
  4. จำนวนผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง เช่น  Intracerebral  hemorrhage ,Cerebral  infarction , Stroke ,CVA ปี 51 จำนวน 237  ราย

         ผู้ป่วยรายใหม่   จำนวน    69           ราย

  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคลินิกความดันโลหิตสูงปี51

ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดในสมองแตก BP ³ 180/100 mm.Hg. มีจำนวน 101 ราย

กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพมีดังนี้

  1. ให้ความรู้เชิงลึก โดยการค้นหาปัญหาที่ทำให้ผู้ป่วยควบคุมความดันไม่ได้
  2. คัดกรองป้องกันอัมพฤกษ์ อัมพาต ดังนี้

2.1    ค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต

2.2    แจ้งผลการคัดกรองและสร้างความตระหนักให้ผู้ป่วย

2.3    ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะส่งต่อข้อมูลให้แพทย์ผู้รักษาเพื่อหาแนวทางป้องกันรักษา

  1. ส่งต่อให้มีการติดตามดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดย เจ้าหน้าที่อนามัย, PCU ใกล้บ้าน ให้ติดตามดูแลในเรื่อง การรับประทานยา  การรับประทานอาหาร และการดูแลเอาใจใส่ของญาติ
  2. ผู้ป่วยชายที่ยังเลิกบุหรี่ไม่ได้และต้องการจะเลิกสูบบุหรี่จะส่งเข้าคลินิกอดบุหรี่ทุกราย

4.1    ยอดผู้ป่วยคลินิกอดบุหรี่ปี 51   จำนวน                   10           ราย

4.2    สูบบุหรี่ลดลง                      จำนวน                   2              ราย

4.3    หยุดสูบบุหรี่                        จำนวน                   1              ราย

4.4    สูบบุหรี่ไม่ลดลง                   จำนวน                   1              ราย

4.5    ไม่มาตามนัด                       จำนวน                   6              ราย

คำสำคัญ (Tags): #dm#ht#kpi ht dm#ตัวชี้วัด
หมายเลขบันทึก: 313557เขียนเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2009 22:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 22:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ตัวชี้วัดดีมากครับ ขอชื่นชม แต่กิจกรรมบางอย่างสำคัญ

ควรส่งเสริมเช่น 1การออกกำลังกายแบบแอโรบิก

2การรับประทานยา อย่าง ถูกต้อง ครอบถ้วน

3 การมีคนดูแลไำม่เดียวดาย

ปัจจัย 3 ข้อ นี้ กำหนด การรอดตาย ของผู้ป่วยเบาหวานครับ

มีงานวิจัย ยืนยันมากมาย ทำให้หลุดกรอบ ความคิด

การทำงานบริบาล แบบเดิมๆ ได้ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท