คลังความรู้:การวิเคราะห์ประเด็นคุณภาพมาตรฐาน PCUA โดย นพ.อนุวัฒน์


การวิเคราะห์ประเด็นคุณภาพมาตรฐาน PCUA

คลังความรู้ที่ได้รับจากเวทีการจัดการความรู้ PCU สร้างสุขภาพ ครั้งที่ 2  ระหว่างวันที่ 16-19 พค.49 ณ KU home มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดย นายแพทย์ อนุวัฒน์  ศุภชุติกุล (จาก พรพ.)

ประเด็นหลัก/หลักการ

การวิเคราะห์ร่วมกัน
แหล่งข้อมูล

 

คำถาม HA ของโรงพยาบาลจะมาเชื่อมกับเกณฑ์มาตรฐาน PCU ได้อย่างไร
-   การเชื่อมโดยการทำงานร่วมกัน  ฝึกเอาเป้าหมายเป็นตัวตั้ง
-   การเชื่อมโดยคน ที่  PCU และ โรงพยาบาล
-   กรณีที่มีบุคลากรคนเดียว มีมุมมองในการที่จะทำงานว่าสามารถดึงคนที่อยู่ในพื้นที่มาช่วยได้
    หรือไม่
-   การเชื่อมโดยการทำงานร่วมกัน  ฝึกเอาเป้าหมายเป็นตัวตั้ง
-   การเชื่อมโดยคน ที่  PCU และ โรงพยาบาล
-   กรณีที่มีบุคลากรคนเดียว มีมุมมองในการที่จะทำงานว่าสามารถดึงคนที่อยู่ในพื้นที่มาช่วยได้
    หรือไม่
มี  2 ประเด็นที่จะหารือ
-          เลือกมาเลยมาใครโดดเด่นที่สุด
-          มีการประเมินจริงแล้วเลือกคนที่ดีที่สุด
-          มีการมาแชร์คุณภาพระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกัน
          ทำอย่างไรที่จะทำเรื่องคุณภาพให้สนุก
   
ประเด็นหลัก/หลักการ
การวิเคราะห์ร่วมกัน
แหล่งข้อมูล

 

ประเด็นเรื่อง 26 ตัวชี้วัดของ PCU
ประเด็นการส่งเสริมสุขภาพ  จะวัดอย่างไรจึงจะรู้ว่ามีการพัฒนา
- ให้ดูว่า ตัวชี้วัดไหนที่วัดง่ายที่สุด
- ตัวไหนวัดยากที่สุด
-  ตัววัดไหนที่เป็นตัวเดียวกับ รพ.
- วัดโดยแบ่งกลุ่มคนไข้  3 กลุ่ม เช่น
      -  คนไข้ที่ไม่มีปัญหา
      -   คนไข้ที่มีปัญหาเล็กน้อย
      -   คนไข้ที่มีปัญหามาก  เพื่อง่ายต่อการดูแล
-  มีตัวชี้วัดอะไรที่สามารถสร้างขึ้นเอง และง่ายต่อการวัด
แนวคิดแบบแข็งขืนอารยะ
-          การวัดที่ไม่เกิดประโยชน์ ไม่ต้องวัด
-          การสุ่มวัดเป็นระยะ
อ.ทัศนีย์   ร่วมวิพากษ์
-   มองไปที่  3  กลุ่ม เจ้าหน้าที่,
 -  ผู้ป่วย = โรคเรื้อรัง,แม่และเด็ก,
-   ชุมชน = มีส่วนร่วมระดับไหน ทีมสุขภาพในชุมชนเชื่อมโยงกันอย่างไร
   
ประเด็นหลัก/หลักการ
การวิเคราะห์ร่วมกัน
แหล่งข้อมูล
1.ประเด็นการประเมิน HAประเมิน PCU
   HPH และ TQA
2. จุดที่จะประเมินชุมชนเข้มแข็งที่สามารถตอบคำถามได้เลย
1.    มีความพยายามในการแก้ปัญหาโดยวิเคราะห์เกณฑ์ประเมินที่สามารถใช้ร่วมกันได้
2.    มีมาตรฐานไหนที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
3.    มาตรฐานที่เขียนโอกาสพัฒนาได้
1.       ชุมชนนั้นไม่มีโรคที่ป้องกันได้เกิดขึ้นในชุมชน
2.       ลดโรคที่สามารถลดได้ โดยชุมชนรับรู้ข้อมูลของชุมชน
3.       สิ่งแวดล้อมในชุมชนปลอดภัย
4.       คุณภาพจะเกิดได้ ทีมทุกระดับจะต้องมีการทำงานอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
 
ประเด็นหลัก/หลักการ
การวิเคราะห์ร่วมกัน
แหล่งข้อมูล
1.ประเด็นการประเมิน HAประเมิน PCU
   HPH และ TQA
2. จุดที่จะประเมินชุมชนเข้มแข็งที่สามารถตอบคำถามได้เลย
ประเด็นตัวชี้วัดจะเริ่มตรงไหน
1.    มีความพยายามในการแก้ปัญหาโดยวิเคราะห์เกณฑ์ประเมินที่สามารถใช้ร่วมกันได้
2.    มีมาตรฐานไหนที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
3.    มาตรฐานที่เขียนโอกาสพัฒนาได้
5.       ชุมชนนั้นไม่มีโรคที่ป้องกันได้เกิดขึ้นในชุมชน
6.       ลดโรคที่สามารถลดได้ โดยชุมชนรับรู้ข้อมูลของชุมชน
7.       สิ่งแวดล้อมในชุมชนปลอดภัย
8.       คุณภาพจะเกิดได้ ทีมทุกระดับจะต้องมีการทำงานอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
1.เริ่มที่ความเสี่ยง จัดการความเสี่ยงให้ได้ เป็นสิ่งที่ต้องทำต้องทำ
2. ควรจะทำ
3. ทำแล้วเกิดคุณค่า
4. ให้ยึดเป้าหมายเป็นหลัก ทำแล้ว เกิดประโยชน์ 3 ส่วน
    -ได้แก่เจ้าหน้าที่
   - ได้แก่ องค์กร
   - ได้แก่ผู้ป่วย
 
ประเด็นหลัก/หลักการ
การวิเคราะห์ร่วมกัน
แหล่งข้อมูล
 -   จุดอ่อนขาดการเชื่อมโยงสู่ชุมชน
      ในรับหัวหน้างานจะมีวิธีการอย่างไร
     ในการแก้ไขปัญหานี้
 -  ถามว่ามาตรฐานการประเมิน PCU
    จะเพิ่มอีกหรือไม่
-          ผอ.มอบหมายให้รับผิดชอบชุมชนไปเลย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ไปเรียนรู้กับชุมชน
-          ให้ทีมเข้าไปทำกิจกรรมในชุมชน
-          ทำโครงการในชุมชนให้มากขึ้น เมื่อทำไปสักระยะก็ดึงคนที่อยู่ข้างใน ออกไปด้วย โดยพยามดึงทุกสาขาอาชีพ
-          อย่าเอากิจกรรมประเมินไปเป็นตัวตั้งเพราะจะทำให้เกิดเหนื่อยล้าแก่เจ้าหน้าที่มาก
-          ไม่ต้องกังวล ถ้าเราทำแบบเอาความต้องการของลูกค้าเป็นตัวตั้ง และผู้บริหารที่มีอำนาจ
1.       อาจารย์ให้แนวคิดว่าควรสร้างเกณฑ์มาตรฐานตนเองให้มี 5 ระดับแล้วมีการประเมินตนเองไปเรื่อยๆ
 
คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 30157เขียนเมื่อ 22 พฤษภาคม 2006 15:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 พฤษภาคม 2012 23:00 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)
การวัดตัวชี้วัดตามมาตรฐาน PCUA ค่อนข้างเป็นปัญหามากทั้งตัวผู้ปฏิบัติงานใน PCU และผู้ประเมินมาตรฐาน  แนวคิดที่ นพ.อนุวัฒน์ นำเสนอเป็นแนวคิดที่จะนำไปลองปฏิบัติดู   ได้ผลประการใดจะแลกเปลี่ยนในโอกาสหน้า

เป็นกำลังใจให้ต่อไปนะคะ

ขออภัยนะคะ ขอเรียนว่า ชื่อ อ.นพ.อนุวัฒน์  ศุภชุติกุล ค่ะ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท