หัวใจของ AAR


หัวใจของ AAR


1.      พูดออกมาจากใจ
2.      พูดอย่างอิสระ  ไม่มีถูก – ผิด
3.      พูดจากการตีความ,   ความรู้สึกหรือความเข้าใจของเราเอง   โดยไม่กังวลว่าจะถูกหรือผิด
4.      ไม่พูดตำหนิใคร
5.      คาดหวังการตีความหลากหลายแบบ
6.      คาดหวังมุมมองที่ไม่เหมือนใคร   เป็นมุมมอใหม่ ๆ
7.      ไม่มีการโต้แย้งเพื่อหาข้อยุติว่าความเห็นใดถูกความเห็นใดผิด   แต่มีการสอบถาม (appreciative inquiry) ได้ว่าทำไมจึงคิดหรือตีความเช่นนั้น
8.      ทุกคนเรียนรู้จากความคิดเห็นหรือการตีความที่แตกต่างหลากหลาย
9.      มี “คุณลิขิต” บันทึก “แก่นความรู้” ไว้ใช้งานต่อไป
10.    เรียนรู้ทั้งจากความสำเร็จและจากความล้มเหลว


         AAR เป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติงานร่วมกัน   เน้นที่ความรู้ปฏิบัติ – Tacit Knowledge


                                                                                                วิจารณ์  พานิช
                                                                                                   12 ส.ค.48

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 2477เขียนเมื่อ 15 สิงหาคม 2005 08:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 13:55 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท