KM ในวัฒนธรรมเอเชีย : 1. มีวิธีเอาชนะวัฒนธรรมเกรงอาวุโสอย่างไร


ฝรั่งมองเราอย่างนี้ เราเองมองตัวเราอย่างไร

KM ในวัฒนธรรมเอเชีย : 1. มีวิธีเอาชนะวัฒนธรรมเกรงอาวุโสอย่างไร


         ผมได้รับ อี-เมล์ จาก Learning-to-Fly Community ดังต่อไปนี้    จึงเอามาตั้งเป็นโจทย์ว่าชุมชน Gotoknow มีความเห็น/ประสบการณ์เรื่องนี้อย่างไร

Japan is considered to be the pioneer of KM in Asia. The Knowledge Management

Society of Japan was established in 1998 and companies like IBM Japan, Ezai

pharmaceutical companies began to adopt KM into their corporate practice. Nowadays,

an increasing number of the Japanese companies are applying knowledge management

into their daily operations, recognizing the value of talents of their employees in

this competitive global economy.

   

  Most of the Asian countries which had adopted KM in late 90’s are giving special

focus on the cultural aspects of knowledge management since people involvement is

the pre-requisite for any KM success. Creating awareness and understanding of KM

are top agendas in countries like Japan, Singapore, Hong Kong and India as to

balance between people, systems, processes, technologies and measurement of KM

success. 

   

  Generally speaking, most of KM models are formulated in the context of a

Western-centric framework in which freedom of expression and individualism are

both accepted social norms. By contrast, the same does not necessarily hold true

in many local Malaysian corporations. Indeed, right across the developing world,

many corporations large or important enough to implement KM are probably still

state-owned or have only recently been privatized. Consequently, many inherit a

corporate culture that can sometimes still resemble a civil service in many ways,

values such as deference of authority, seniority and hierarchy may still define

social interactions.

   

  These values can potentially seriously inhibit the sort of exchange of ideas and

information a KM strategy is designed to achieve. Employees will always be

conscious of the appropriateness of their contributions; superiors on the other

hand would be cautious to ensure that their comments do not reveal their lack of

familiarity of the subject. The result is a very sterilized; and possibility

superficial exchange that betrays the whole idea of knowledge-sharing. Faced with

such a situation, unsuspecting managements could easily fall into the trap of

attempting to implement standard; approaches of KM without paying sufficient

regard to the social aspect of their organizations; only to meet a lack of

success, see millions of dollars wasted and contribute to demoralized cynical

employees.

  

  So, do you think, there is a need to develop customized KM models for Asian

corporates based on the Asian values?

  

Thanks.

Naguib Chowdhury

www.kmtalk.net 
[email protected]

ขอเชิญชวนให้ชุมชน Gotoknow ช่วยกัน ลปรร. นะครับ    และขอให้คุณจ๋าช่วยเอาเข้าระดมความคิดใน Weekly Meeting ของ สคส. วันที่ ๒๖ เมย. นี้ด้วย

วิจารณ์ พานิช

๑๒ เมย. ๔๙

คำสำคัญ (Tags): #km#กับ#อิสรภาพ#context
หมายเลขบันทึก: 23998เขียนเมื่อ 15 เมษายน 2006 10:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 27 เมษายน 2012 15:35 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สมัยเรียน ป.เอก ดิฉันทำ dissertation เกี่ยวกับ IT and national culture เป็น experiment ที่เปรียบเทียบระหว่างคนไทยกับคนอเมริกันคะ

จากผลวิจัย ดิฉันบ่งให้เห็นถึงความสำคัญของการที่จะต้องประยุกต์ IT ให้เข้ากับวัฒนธรรม (Localization - L10N) ใน 3 ด้านคะ

1) Preferential aspect

ความชอบในการออกแบบระบบเป็นสิ่งสำคัญคะ สีสรร ความสนุกสนาน ความมีชีวิตชีวา ในเว็บไซต์ ดูจะส่งผลที่แตกต่างกันระหว่างวัฒนธรรมคะ

2) Cognitive aspect

อย่างไรก็ตาม ภาษาไทยเป็นภาษาที่อ่านยาก และยากกว่าภาษาอังกฤษคะ ดังนั้น จึงกระทบกับ eye movement, speed และ error ในการอ่านคะ ดังนั้น ผู้พัฒนาระบบจะต้อง balance เรื่องนี้กับข้อ 1 ให้ดีคะ โดยเฉพาะเว็บที่เน้นวัตถุประสงค์เพื่อการอ่าน เช่น บล็อก ข่าว เป็นต้นคะ

3) Behavioral aspect

Value คะ layer ที่ลึกที่สุกในวัฒนธรรม ฝังอยู่ลึกมาก เช่น ความเคารพด้าน seniority, anxiety ต่อ การยอมรับในตัวเทคโนโลยี, การหลีกเลี่ยงการโต้แย้ง, การรักษาหน้า, การมีน้ำใจ, ความกตัญญู เป็นต้นคะ

เท่าที่เฝ้าสังเกต แต่ยังไม่ได้ลงมือทำ suvey หรือ interview (แต่ใกล้แล้วคะ กำลังพัฒนา survey อยู่คะ) ดิฉันพบว่า ใน Gotoknow.org เราสามารถเจอะเจอ value เหล่านี้แฝงอยู่อย่างชัดเจนคะ เช่น สังเกตได้ว่า Blogger อาวุโส หรือมีชื่อเสียง จะไม่ค่อยมีคนกล้าเข้ามา comment เป็นต้นคะ

แต่สิ่งหนึ่งที่ ชาว GotoKnow.org ทำให้ดิฉันแปลกใจมากๆ คือGotoKnow.org มีผู้ใช้มีมีอายุเยอะอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ใช้บล็อกอยู่เป็นประจำ ซึ่งแย้งกับงานวิจัยด้าน IT and Aging ที่มีอยู่อย่างมากมายคะ  เบื้องต้นสันนิษฐานได้ว่า กลุ่มคนเหล่านี้ต้องการการถ่ายทอดความรู้ด้วยใจจริง ๆ คะ และประเทศไทยเราก็ขาดสถานที่ให้คนเรานี้ เราจึงสามารถพบผู้สูงวัยใน Gotoknow.org อยู่หลายท่านมากคะ :)

ตัวอย่าง paper คะ

The paradoxes of knowledge management: An. eastern philosophical perspective. Bongsug Chae. & James M. Bloodgood ตีพิมพ์ใน journal ชื่อ Information and Organization ของ Elsevier ซึ่ง หากจะอ่าน paper นี้ ต้องเข้าที่ฐานข้อมูล ScienceDirect นะคะ และไม่ฟรีนะคะ

แต่ปรากฏว่า เมื่อค้นหาด้วย google ดิฉันเจอ paper นี้ที่ Siriraj KM http://www.si.mahidol.ac.th/km/doc.htm ซึ่งถ้าเจ้าของ paper หรือ Elsevier เจอเข้า อาจเจอปัญหาด้านลิขสิทธิ์นะคะ รบกวนอาจารย์หมอวิจารณ์แจ้งทาง Siriraj KM ด้วยนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท