การจัดทำรายงานการประชุมที่ดี


บริการงานประชุมที่ดี คืองานเด่นของเรา

การรับฟัง  การจดบันทึก  การสื่อสาร..ถ่ายทอด เป็นลายลักษณ์อักษร  

เป็นปัจจัยที่สำคัญของคนที่ปฏิบัติหน้าที่จัดทำรายงานการประชุม  

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 23306เขียนเมื่อ 10 เมษายน 2006 11:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 พฤษภาคม 2012 18:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)
มีเทคนิคการทำรายงานการประชุมที่ดี ๆ ก็เล่าสู่กันฟังบ้างนะครับ

พยายามอ่านให้มาก  ฟังให้มาก  แล้วก็เขียนให้มากค่ะ  การจดบันทึกการประชุมจะใช้วิธีเขียนเป็นตัวย่อหรือเขียนสัญลักษณ์ ก็ได้แต่เราต้องเข้าใจนะค๊ะ  เราเข้าใจคนเดียวก็ไม่เป็นไรค่ะ  หลังจากนั้นจึงค่อยมาขยายความให้คนอื่นเข้าใจ  โดยการนำมาทำเป็นรายงานการประชุม  

บรรจงวิทย์ ยิ่งยงค์

ขอร่วม ลปรร.ด้วยคนครับ

ผมเคยมีประสบการณ์ /เคยรับผิดชอบจัดทำระเบียบวาระการประชุม และรายงานการประชุมต่างๆ มาประมาณ 14 ปี ( ที่ กองกลาง มม.4 ปี  และที่ มวล. 10 ปี) ก่อนที่จะมาทำหน้าที่ในหน่วยพัฒนาองค์กร มวล.จนถึงปัจจุบัน   แม้ว่าจะไม่ใช่เป็นเจ้าหน้าที่ของงานการประชุม ที่จะต้องรับผิดชอบจัดทำรายงานการประชุมคณะสำคัญๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น สภามหาวิทยาลัย  สภาวิชาการ ที่ประชุมบริหาร  เป็นต้น แต่ทุกคนควรมีความสามารถในการจับประเด็น และ การร้อยเรียงคำพูดที่ได้ยินมาเขียนถ่ายทอดเป็นตัวหนังสือเพื่อให้คนอื่นได้เข้าใจตรงกัน   ผมคิดว่า หากแต่ละคนมีความสามารถดังกล่าวแล้ว  น่าจะเป็นบุคคลที่จัดทำรายงานการประชุมที่ดีและมีประสิทธิภาพได้  เพียงแต่พัฒนาเพิ่มเติมในอีก 2-3 ด้าน ได้แก่ การเข้าใจถึงรูปแบบของการจัดทำรายงานการประขุม  การใช้คำ/ข้อความที่เป็นภาษาเขียน  และการเข้าใจในเรื่องหลักการใช้ภาษาไทย  อย่างไรก็ตาม ผมคิดว่าจะต้องอาศัยการปฎิบัติ  การฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ  ค่อยๆปรับไป  สุดท้ายคงไม่เกินความสามารถของทุกคน   รายละเอียด / ประสบการณ์ในการปฎิบัติ  ผมจะมา ลปรร.อีกครั้งหนึ่งครับ

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท