Pulmonary embolism in induce abortion HIV+ve pregnant patient with AZT+3TC+EFV


ทีม PCT สูตินรีเวช สถาบันบำราศนราดูร

26 กุมภาพันธ์ 2549 ทางสถาบันบำราศนราดูร  โดยทีม PCT สูตินรีเวช  ซึ่งทีมนำ  โดย  นพ.อมรพันธุ์  วิรัชชัย, นพ.ปรีชา  ตันธนาธิป, นพ.การุญย์  คุณติรานนท์,  นพ.ภูชิชย์  มีประเสริฐสกุล,  พญ.ปิยวรรณ  ลิ้มปัญญาเลิศ และพญ.ณฐวรรณ  ศิริพงศ์ปรีดา  และทีมพยาบาลซึ่งประกอบด้วย  คุณบุญช่วย  บุญเติม,  คุณอรทัย  โสมนริทร์,  คุณสุคนธ์ศรี  คล่องอักขระ,  คุณพรรณี  ลิ้มสวัสดิ์,  คุณชูศรี  ปัญจวงศ์,  คุณณัฏฐิณี  ตัณนิติศุภวงษ์,  คุณอารีวรรณ  เจริญรื่น,  คุณโสพิศ  บัวราช,  คุณสุทธิพร  เทรูยา, คุณบุญมา  ฉวีสุข, คุณศุภลักษณ์  หิริวัฒนวงศ์  และคุณนิภาวรรณ  ธนาจันทาภรณ์  ได้รายงานผลงานของ Case  conference  เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2549  ซึ่งทางผู้อำนวยการเห็นว่าน่าจะเล่าให้ผู้สนใจทราบเพราะโรคนี้ค่อนข้างมีอัตราตายสูงแต่เผอิญโชคดีผู้ป่วยรอดชีวิตมาได้  เพื่อเป็น Knowledge  sharing  สำหรับผู้ที่สนใจ

งานสูตินรีเวชกรรม  สรุปการประชุม Case conference ครั้งที่ 1/2549  16 กุมภาพันธ์ 2549

Case ที่ 1
Pulmonary embolism in induce abortion รายงานผู้ป่วย  และสรุปเรื่อง amniotic fluid embolism สรุป case known case HIV on AZT+3TC+EFV  ตรวจพบตั้งครรภ์  ให้คำปรึกษาเรื่องผลของ EFV ต่อทารก ผู้ป่วยตัดสินใจ terminate U/S  ในวันทำ = 11 wks.  จึง set dilate + curette  และ  suprapubic TL  under  GA + ET intubation  เกิด embolism – solve  แล้วเกิด  coagulopathy ให้การรักษาจนเป็นปกติ

ข้อสังเกตจากการประชุม

1. ผู้ที่ทานยา ARV  อยู่ควรเน้นการคุมกำเนิดที่ถูกต้อง  โดยเฉพาะผู้ที่นายา EFV

2. Therapeutic abortion ให้พิจารณา gestational age ให้ดี และเลือกวิธีให้เหมาะสม เนื่องจากอายุครรภ์มากขึ้น มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิด embolism จะเพิ่ม

3. ในการทำ ต้องมีการคำนึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ควรอธิบายให้ผู้ป่วยทราบด้วย?

4. ในรายงาน เหตุเกิดในห้องผ่าตัด  และใส่ ET tube และติดเครื่อง monitor vital sign อยู่แล้ว การให้ความช่วยเหลือ และรักษาจึงทำได้คล่องตัว

5. แต่ในการตั้งครรภ์  เจ็บครรภ์คลอด  ที่ห้องคลอด หรือ การ induce abortion  ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิงอาจมีเหตุการณ์ได้  พญ.ปิยวรรณ  เสนอให้ทั้งสองหน่วยงาน เตรียมจัดระบบการช่วยเหลือ เครื่องมือ การตามคน เมื่อเกิดเหตุกับผู้ป่วย ซึ่งจะรองรับกับแผนปฏิบัติ CPR ของสถาบันไปในตัว  และเจ้าหน้าที่ควรคำนึงถึงภาวะนี้ด้วยในขณะดูแลการคลอด

6. จากการ Review ความรู้ทางวิชาการ Amniotic fluid embolism = sudden profound shock follow by cardiovascular collapse

           Incidence ในการคลอด 1 : 8000 – 1 : 80000  ส่วนใน legal abortion 0.7 : 100000 legal abortion
          สาเหตุยังไม่ทราบ แต่จากการศึกษาคาดว่า fetal cell เข้า เลือดแม่ กระตุ้นให้เกิด pulmonary spasm ส่งผล Lt heart failure, BP drop, O2 sat drop
          การวินิจฉัย ทำได้โดยการ exclusion
          อาการ acute shortness of breath, severe hypotension, O2 sat drop sudden, hypoxia, cyanosis, pulmonary edema, cardiac arrest
หลัก management goal = to restoration of cardiovascular + pulmonary equilibrium
               1.)  oxygenation intubation to maintain airway
               2.)  circulatory support treat hemodynamic instability
               3.)correction of coagulopathy

7. สรุปผู้ป่วยรายนี้  อยู่ในความเสี่ยงระดับ F

เล่าโดย  นพ.อมรพันธุ์  วิรัชชัย
นำเสนอโดย พญ.อัจฉรา  เชาวะวณิช

 

คำสำคัญ (Tags): #pulmonary embolism
หมายเลขบันทึก: 17235เขียนเมื่อ 1 มีนาคม 2006 23:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 10:19 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท