แสงเทียน
นางสาว เกตนุต เกตนุต สะดือจุ่น

ระบบสารสนเทศคืออะไร ทำไมต้องมีระบบสารสนเทศ


ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หรือ mis ได้จัดอยู่ในรายวิชาที่นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยหรือระดับอุดมศึกษาต้องเรียน จึงได้มีคำถามว่า ทำไมถึงต้องมีระบบสารสนเทศ

สวัสดีค่ะชาว gotoknow สำหรับ blog นี้ก็เพื่อจะเผยแพร่ความรู้ในรายวิชาที่ได้ทำการสอนนักศึกษา จึงอยากนำมาถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้ผู้ที่สนใจด้านนี้มาเสนอความคิดเห็นและแนวความคิดใหม่ๆ แก่ผู้ที่สนใจละคณาจารย์ที่ได้สอนวิชานี้ในสถาบันอื่นๆ ด้วย

การจัดการสารสนเทศ อันนี้ มันก็ต่อเนื่องมากับ วิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบระบบสารสนเทศ คือ เราต้องรู้ว่าองค์กรเป็นอย่างก่อนทำธุรกิจอะไร ต้องการระบบอะไรเพื่อทีจะนำมาพัฒนาองค์กร ลดต้นทุกองค์กร แล้วนำสิ่งที่ได้มานั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้มาเป็นระบบสนเทศ

ดังนั้น เพื่อเป็นเช่นนี้เราก็มารู้จักกันเลยว่า ระบบสารสนเทศคืออะไรก่อน มีหลายคนให้คำนิยามของระบบสารสนเทศไว้ ซึ่งมีหลากหลายกันไปแต่ผลสรุปก็คือมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์อันเดียวกัน

ในที่นี้จะยกคำนิยามหรือข้อความบางส่วนในเรื่องของ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มาจากหนังสือของผศ.ดร.สัลยุทธ์ สว่างวรรณ ได้รับการแปลและเรียบเรียงเนือหามาจากหนังสือของ Laudon@Laudon  จึงขออนุญาต ณ ที่นี้ที่จะนำเนื้อหาบางส่วน ที่เป็นประโยชน์มาเผยแพร่ความรู้ให้บุคคลผู้ที่มีความสนใจ มา ณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ

ระบบสารสนเทศคือ อะไร

  • อาจจะกล่าวได้ในทางเทคนิคซึ่งจะหมายถึง กลุ่มของระบบ(system) คือกลุ่ม ขององค์ประกอบต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน และทำงานเพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน กลุ่มของระบบงานจะประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือตัวอุปกรณ์ ซึ่ง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะมีหน้าที่ประมวลผล รวบรวม จัดเก็บ และสนับสนุนการตัดสินใจการควบคุมภายในองค์กร และช่วยวิเคราะห์แก้ปัญหา ต่างๆ ในองค์กรด้วย  

ทำไมต้องมีระบบสารสนเทศ

  • เป็นคำถามที่น่าสนใจอย่างยิ่ง เพราะอย่างที่ได้กล่าวมา ว่าปัจจุบันระบบสารสนเทศถือเป็นสิ่งที่สำคัญมากในองค์กร เพื่อจะนำพาองค์กรไปสู่การพัฒนาแบบสมัยใหม่และคนก็เริ่มที่จะสนใจที่จะเรียนรู้ในเรืองของระบบสารสนเทศกันมากขึ้น
หมายเลขบันทึก: 151148เขียนเมื่อ 3 ธันวาคม 2007 19:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:42 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (17)

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ หริอ information พิจารณาในแง่นี้ สารสนเทศ ก็คือ ผลสรุปที่ได้จาก การนำข้อมูลมาประมวล ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสรุปทางสถิติ การเปรียบเทียบ การจำแนก หรือ จัดกลุ่ม ฯลฯ อย่างในกรณีของ ข้อมูลการตรวจสุขภาพนั้น สารสนเทศที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้ตรวจสุขภาพนั้น ได้มาจากการที่นายแพทย์ เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขต่างๆ กับค่าเฉลี่ย ที่เป็นที่รู้จักกันดีแล้ว ในวงการแพทย์ หากผู้ที่ไม่ใช่นายแพทย์ ได้รับข้อมูลตัวเลขเหล่านั้นไป และผู้นั้น ไม่มีความรู้อะไรเลย เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยเหล่านี้ ผู้นั้นก็ย่อมไม่สามารถหาข้อสรุปเป็น สารสนเทศ ที่ถูกต้องได้ จากที่กล่าวมานี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์จึงถือว่า ระบบสารสนเทศ คือระบบจัดเก็บข้อมูล ในด้านต่างๆ เอาไว้ แล้วนำข้อมูลมาประมวล ให้เป็นสารสนเทศ เพื่อส่งให้ผู้ใช้ ระบบสารสนเทศที่รู้จักกันดีก็คือ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System หรือ EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) ระบบเหล่านี้นิยมพัฒนา และใช้กันมาก ในวงการบริหารจัดการ ทั้งทางภาคธุรกิจ และเอกชน สำหรับในงานวิจัยนั้น ระบบสารสนเทศ ที่ใช้กันมากนั้น ไม่ใช่ระบบที่กล่าวถึงชื่อมาแล้วข้างต้น แต่เป็นระบบที่เก็บข้อมูล ที่เกี่ยวกับ ข่าว หนังสือ วารสาร บทความวิจัย รายงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลวิจัยอื่นๆ สำหรับให้ผู้ที่สนใจ สืบค้นหาเรื่องที่ตนต้องการทราบ ไม่ว่าจะเป็นระบบสารสนเทศ สำหรับวงการบริหารจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศเพื่องานวิจัย ความคล้ายคลึงกัน ประการหนึ่งก็คือ ระบบทั้งสองแบบนั้น ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ จัดทำสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ข้อที่ควรทราบอีกประการหนึ่งก็คือ สารสนเทศ นั้น ยังไม่ใช่ผลสรุปสุดท้ายที่ตายตัว อาจเป็นไปได้ที่ หลังจากนายแพทย์ พิจารณาตัวเลข คลอเรสเตอรัลแล้ว บอกผู้มาตรวจสุขภาพว่าเป็นปกติ เพราะค่าที่วัด อยู่ภายในระดับปกตินั้น ไม่ช้าไม่นาน ผู้มาตรวจสุขภาพรายนั้น อาจมีอันเป็นไป เพราะไขมันอุดหลอดเลือดหัวใจก็ได้ หากเกิดเรื่อง เช่นนี้บ่อยครั้ง วงการแพทย์ก็อาจจะต้อง ศึกษาสารสนเทศเหล่านี้มากขึ้นๆ จนกระทั่งได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย เป็น ความรู้ (Knowledge) นักคิดทางด้านคอมพิวเตอร์หลายคน มองเห็นว่า ความรู้ ก็ยังไม่ใช่ที่สุด ของสิ่งที่จะได้รับจากข้อมูล ดังนั้นจึงสรุปว่า หลังจากที่มนุษย์เรา ได้รับความรู้ในด้านต่างๆ มากขึ้นๆ จนเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว ก็จะเกิด ผลสรุปขั้นสุดท้ายเป็น ปัญญา (Wisdom

จากคุณ okpiyd'' เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน. 46 เวลา 15:58:41

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ หริอ information พิจารณาในแง่นี้ สารสนเทศ ก็คือ ผลสรุปที่ได้จาก การนำข้อมูลมาประมวล ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสรุปทางสถิติ การเปรียบเทียบ การจำแนก หรือ จัดกลุ่ม ฯลฯ อย่างในกรณีของ ข้อมูลการตรวจสุขภาพนั้น สารสนเทศที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้ตรวจสุขภาพนั้น ได้มาจากการที่นายแพทย์ เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขต่างๆ กับค่าเฉลี่ย ที่เป็นที่รู้จักกันดีแล้ว ในวงการแพทย์ หากผู้ที่ไม่ใช่นายแพทย์ ได้รับข้อมูลตัวเลขเหล่านั้นไป และผู้นั้น ไม่มีความรู้อะไรเลย เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยเหล่านี้ ผู้นั้นก็ย่อมไม่สามารถหาข้อสรุปเป็น สารสนเทศ ที่ถูกต้องได้ จากที่กล่าวมานี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์จึงถือว่า ระบบสารสนเทศ คือระบบจัดเก็บข้อมูล ในด้านต่างๆ เอาไว้ แล้วนำข้อมูลมาประมวล ให้เป็นสารสนเทศ เพื่อส่งให้ผู้ใช้ ระบบสารสนเทศที่รู้จักกันดีก็คือ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System หรือ EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) ระบบเหล่านี้นิยมพัฒนา และใช้กันมาก ในวงการบริหารจัดการ ทั้งทางภาคธุรกิจ และเอกชน สำหรับในงานวิจัยนั้น ระบบสารสนเทศ ที่ใช้กันมากนั้น ไม่ใช่ระบบที่กล่าวถึงชื่อมาแล้วข้างต้น แต่เป็นระบบที่เก็บข้อมูล ที่เกี่ยวกับ ข่าว หนังสือ วารสาร บทความวิจัย รายงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลวิจัยอื่นๆ สำหรับให้ผู้ที่สนใจ สืบค้นหาเรื่องที่ตนต้องการทราบ ไม่ว่าจะเป็นระบบสารสนเทศ สำหรับวงการบริหารจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศเพื่องานวิจัย ความคล้ายคลึงกัน ประการหนึ่งก็คือ ระบบทั้งสองแบบนั้น ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ จัดทำสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ข้อที่ควรทราบอีกประการหนึ่งก็คือ สารสนเทศ นั้น ยังไม่ใช่ผลสรุปสุดท้ายที่ตายตัว อาจเป็นไปได้ที่ หลังจากนายแพทย์ พิจารณาตัวเลข คลอเรสเตอรัลแล้ว บอกผู้มาตรวจสุขภาพว่าเป็นปกติ เพราะค่าที่วัด อยู่ภายในระดับปกตินั้น ไม่ช้าไม่นาน ผู้มาตรวจสุขภาพรายนั้น อาจมีอันเป็นไป เพราะไขมันอุดหลอดเลือดหัวใจก็ได้ หากเกิดเรื่อง เช่นนี้บ่อยครั้ง วงการแพทย์ก็อาจจะต้อง ศึกษาสารสนเทศเหล่านี้มากขึ้นๆ จนกระทั่งได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย เป็น ความรู้ (Knowledge) นักคิดทางด้านคอมพิวเตอร์หลายคน มองเห็นว่า ความรู้ ก็ยังไม่ใช่ที่สุด ของสิ่งที่จะได้รับจากข้อมูล ดังนั้นจึงสรุปว่า หลังจากที่มนุษย์เรา ได้รับความรู้ในด้านต่างๆ มากขึ้นๆ จนเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว ก็จะเกิด ผลสรุปขั้นสุดท้ายเป็น ปัญญา (Wisdom

จากคุณ เด็กพรหมมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน. 46 เวลา 15:58:41

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ หริอ information พิจารณาในแง่นี้ สารสนเทศ ก็คือ ผลสรุปที่ได้จาก การนำข้อมูลมาประมวล ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสรุปทางสถิติ การเปรียบเทียบ การจำแนก หรือ จัดกลุ่ม ฯลฯ อย่างในกรณีของ ข้อมูลการตรวจสุขภาพนั้น สารสนเทศที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้ตรวจสุขภาพนั้น ได้มาจากการที่นายแพทย์ เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขต่างๆ กับค่าเฉลี่ย ที่เป็นที่รู้จักกันดีแล้ว ในวงการแพทย์ หากผู้ที่ไม่ใช่นายแพทย์ ได้รับข้อมูลตัวเลขเหล่านั้นไป และผู้นั้น ไม่มีความรู้อะไรเลย เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยเหล่านี้ ผู้นั้นก็ย่อมไม่สามารถหาข้อสรุปเป็น สารสนเทศ ที่ถูกต้องได้ จากที่กล่าวมานี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์จึงถือว่า ระบบสารสนเทศ คือระบบจัดเก็บข้อมูล ในด้านต่างๆ เอาไว้ แล้วนำข้อมูลมาประมวล ให้เป็นสารสนเทศ เพื่อส่งให้ผู้ใช้ ระบบสารสนเทศที่รู้จักกันดีก็คือ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System หรือ EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) ระบบเหล่านี้นิยมพัฒนา และใช้กันมาก ในวงการบริหารจัดการ ทั้งทางภาคธุรกิจ และเอกชน สำหรับในงานวิจัยนั้น ระบบสารสนเทศ ที่ใช้กันมากนั้น ไม่ใช่ระบบที่กล่าวถึงชื่อมาแล้วข้างต้น แต่เป็นระบบที่เก็บข้อมูล ที่เกี่ยวกับ ข่าว หนังสือ วารสาร บทความวิจัย รายงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลวิจัยอื่นๆ สำหรับให้ผู้ที่สนใจ สืบค้นหาเรื่องที่ตนต้องการทราบ ไม่ว่าจะเป็นระบบสารสนเทศ สำหรับวงการบริหารจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศเพื่องานวิจัย ความคล้ายคลึงกัน ประการหนึ่งก็คือ ระบบทั้งสองแบบนั้น ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ จัดทำสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ข้อที่ควรทราบอีกประการหนึ่งก็คือ สารสนเทศ นั้น ยังไม่ใช่ผลสรุปสุดท้ายที่ตายตัว อาจเป็นไปได้ที่ หลังจากนายแพทย์ พิจารณาตัวเลข คลอเรสเตอรัลแล้ว บอกผู้มาตรวจสุขภาพว่าเป็นปกติ เพราะค่าที่วัด อยู่ภายในระดับปกตินั้น ไม่ช้าไม่นาน ผู้มาตรวจสุขภาพรายนั้น อาจมีอันเป็นไป เพราะไขมันอุดหลอดเลือดหัวใจก็ได้ หากเกิดเรื่อง เช่นนี้บ่อยครั้ง วงการแพทย์ก็อาจจะต้อง ศึกษาสารสนเทศเหล่านี้มากขึ้นๆ จนกระทั่งได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย เป็น ความรู้ (Knowledge) นักคิดทางด้านคอมพิวเตอร์หลายคน มองเห็นว่า ความรู้ ก็ยังไม่ใช่ที่สุด ของสิ่งที่จะได้รับจากข้อมูล ดังนั้นจึงสรุปว่า หลังจากที่มนุษย์เรา ได้รับความรู้ในด้านต่างๆ มากขึ้นๆ จนเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว ก็จะเกิด ผลสรุปขั้นสุดท้ายเป็น ปัญญา (Wisdom

จากคุณ เด็กพรหมมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน. 46 เวลา 15:58:41

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ หริอ information พิจารณาในแง่นี้ สารสนเทศ ก็คือ ผลสรุปที่ได้จาก การนำข้อมูลมาประมวล ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสรุปทางสถิติ การเปรียบเทียบ การจำแนก หรือ จัดกลุ่ม ฯลฯ อย่างในกรณีของ ข้อมูลการตรวจสุขภาพนั้น สารสนเทศที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้ตรวจสุขภาพนั้น ได้มาจากการที่นายแพทย์ เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขต่างๆ กับค่าเฉลี่ย ที่เป็นที่รู้จักกันดีแล้ว ในวงการแพทย์ หากผู้ที่ไม่ใช่นายแพทย์ ได้รับข้อมูลตัวเลขเหล่านั้นไป และผู้นั้น ไม่มีความรู้อะไรเลย เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยเหล่านี้ ผู้นั้นก็ย่อมไม่สามารถหาข้อสรุปเป็น สารสนเทศ ที่ถูกต้องได้ จากที่กล่าวมานี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์จึงถือว่า ระบบสารสนเทศ คือระบบจัดเก็บข้อมูล ในด้านต่างๆ เอาไว้ แล้วนำข้อมูลมาประมวล ให้เป็นสารสนเทศ เพื่อส่งให้ผู้ใช้ ระบบสารสนเทศที่รู้จักกันดีก็คือ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System หรือ EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) ระบบเหล่านี้นิยมพัฒนา และใช้กันมาก ในวงการบริหารจัดการ ทั้งทางภาคธุรกิจ และเอกชน สำหรับในงานวิจัยนั้น ระบบสารสนเทศ ที่ใช้กันมากนั้น ไม่ใช่ระบบที่กล่าวถึงชื่อมาแล้วข้างต้น แต่เป็นระบบที่เก็บข้อมูล ที่เกี่ยวกับ ข่าว หนังสือ วารสาร บทความวิจัย รายงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลวิจัยอื่นๆ สำหรับให้ผู้ที่สนใจ สืบค้นหาเรื่องที่ตนต้องการทราบ ไม่ว่าจะเป็นระบบสารสนเทศ สำหรับวงการบริหารจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศเพื่องานวิจัย ความคล้ายคลึงกัน ประการหนึ่งก็คือ ระบบทั้งสองแบบนั้น ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ จัดทำสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ข้อที่ควรทราบอีกประการหนึ่งก็คือ สารสนเทศ นั้น ยังไม่ใช่ผลสรุปสุดท้ายที่ตายตัว อาจเป็นไปได้ที่ หลังจากนายแพทย์ พิจารณาตัวเลข คลอเรสเตอรัลแล้ว บอกผู้มาตรวจสุขภาพว่าเป็นปกติ เพราะค่าที่วัด อยู่ภายในระดับปกตินั้น ไม่ช้าไม่นาน ผู้มาตรวจสุขภาพรายนั้น อาจมีอันเป็นไป เพราะไขมันอุดหลอดเลือดหัวใจก็ได้ หากเกิดเรื่อง เช่นนี้บ่อยครั้ง วงการแพทย์ก็อาจจะต้อง ศึกษาสารสนเทศเหล่านี้มากขึ้นๆ จนกระทั่งได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย เป็น ความรู้ (Knowledge) นักคิดทางด้านคอมพิวเตอร์หลายคน มองเห็นว่า ความรู้ ก็ยังไม่ใช่ที่สุด ของสิ่งที่จะได้รับจากข้อมูล ดังนั้นจึงสรุปว่า หลังจากที่มนุษย์เรา ได้รับความรู้ในด้านต่างๆ มากขึ้นๆ จนเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว ก็จะเกิด ผลสรุปขั้นสุดท้ายเป็น ปัญญา (Wisdom

จากคุณ เด็กพรหมมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน. 46 เวลา 15:58:41

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ หริอ information พิจารณาในแง่นี้ สารสนเทศ ก็คือ ผลสรุปที่ได้จาก การนำข้อมูลมาประมวล ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสรุปทางสถิติ การเปรียบเทียบ การจำแนก หรือ จัดกลุ่ม ฯลฯ อย่างในกรณีของ ข้อมูลการตรวจสุขภาพนั้น สารสนเทศที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้ตรวจสุขภาพนั้น ได้มาจากการที่นายแพทย์ เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขต่างๆ กับค่าเฉลี่ย ที่เป็นที่รู้จักกันดีแล้ว ในวงการแพทย์ หากผู้ที่ไม่ใช่นายแพทย์ ได้รับข้อมูลตัวเลขเหล่านั้นไป และผู้นั้น ไม่มีความรู้อะไรเลย เกี่ยวกับค่าเฉลี่ยเหล่านี้ ผู้นั้นก็ย่อมไม่สามารถหาข้อสรุปเป็น สารสนเทศ ที่ถูกต้องได้ จากที่กล่าวมานี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์จึงถือว่า ระบบสารสนเทศ คือระบบจัดเก็บข้อมูล ในด้านต่างๆ เอาไว้ แล้วนำข้อมูลมาประมวล ให้เป็นสารสนเทศ เพื่อส่งให้ผู้ใช้ ระบบสารสนเทศที่รู้จักกันดีก็คือ ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ (Management Information System หรือ MIS) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive Information System หรือ EIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System หรือ DSS) ระบบเหล่านี้นิยมพัฒนา และใช้กันมาก ในวงการบริหารจัดการ ทั้งทางภาคธุรกิจ และเอกชน สำหรับในงานวิจัยนั้น ระบบสารสนเทศ ที่ใช้กันมากนั้น ไม่ใช่ระบบที่กล่าวถึงชื่อมาแล้วข้างต้น แต่เป็นระบบที่เก็บข้อมูล ที่เกี่ยวกับ ข่าว หนังสือ วารสาร บทความวิจัย รายงานวิจัย ตลอดจนข้อมูลวิจัยอื่นๆ สำหรับให้ผู้ที่สนใจ สืบค้นหาเรื่องที่ตนต้องการทราบ ไม่ว่าจะเป็นระบบสารสนเทศ สำหรับวงการบริหารจัดการ หรือ ระบบสารสนเทศเพื่องานวิจัย ความคล้ายคลึงกัน ประการหนึ่งก็คือ ระบบทั้งสองแบบนั้น ต่างก็มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ จัดทำสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ข้อที่ควรทราบอีกประการหนึ่งก็คือ สารสนเทศ นั้น ยังไม่ใช่ผลสรุปสุดท้ายที่ตายตัว อาจเป็นไปได้ที่ หลังจากนายแพทย์ พิจารณาตัวเลข คลอเรสเตอรัลแล้ว บอกผู้มาตรวจสุขภาพว่าเป็นปกติ เพราะค่าที่วัด อยู่ภายในระดับปกตินั้น ไม่ช้าไม่นาน ผู้มาตรวจสุขภาพรายนั้น อาจมีอันเป็นไป เพราะไขมันอุดหลอดเลือดหัวใจก็ได้ หากเกิดเรื่อง เช่นนี้บ่อยครั้ง วงการแพทย์ก็อาจจะต้อง ศึกษาสารสนเทศเหล่านี้มากขึ้นๆ จนกระทั่งได้ข้อสรุปขั้นสุดท้าย เป็น ความรู้ (Knowledge) นักคิดทางด้านคอมพิวเตอร์หลายคน มองเห็นว่า ความรู้ ก็ยังไม่ใช่ที่สุด ของสิ่งที่จะได้รับจากข้อมูล ดังนั้นจึงสรุปว่า หลังจากที่มนุษย์เรา ได้รับความรู้ในด้านต่างๆ มากขึ้นๆ จนเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งดีแล้ว ก็จะเกิด ผลสรุปขั้นสุดท้ายเป็น ปัญญา (Wisdom

จากคุณ เด็กพรหมมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน. 46 เวลา 15:58:41

สารสนเทศคืออะไร คำว่า สารสนเทศ นี้ ทางวงการคอมพิวเตอร์ใช้กันมานานแล้ว ในความหมายตรงกับ คำภาษาอังกฤษว่า Information สำหรับวงการบรรณารักษ์และห้องสมุดนั้น ได้เลือกใช้คำอีกคำหนึ่ง คือ สารนิเทศ มาเป็นเวลานานแล้วเช่นกัน คำทั้งสองนี้ มีผู้นำมาใช้ ตั้งเป็นชื่อหน่วยงานต่างๆ มากจนยากเกินกว่าที่จะเปลี่ยน ให้เหลือเพียงคำเดียวเท่านั้น อาทิ สำนักงานสารนิเทศ ศูนย์สารสนเทศ ดังนั้น ต่อมาคณะกรรมการบัญญัติศัพท์คอมพิวเตอร์ ของราชบัณฑิตยสถาน ก็ได้เก็บคำทั้งสองนี้ ไว้เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า information ด้วยกันทั้งคู่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 [1] ให้คำอธิบายคำ สนเทศ ว่าเป็น คำสั่งข่าวสาร ใบบอก ส่วนคำว่า นิเทศ นั้น มีคำอธิบายว่า เป็นคำนามหมายถึง คำแสดง คำจำแนก หากเป็นกริยาหมายถึง ชี้แจง แสดง หรือ จำแนก ดังที่ปรากฎใน พระราชทินนามที่โปรดเกล้าฯ ตั้งให้แก่ พระธรรมนิเทศทวยหาญ ก็หมายถึง ตำแหน่งที่มีหน้าที่ชี้แจง แสดงธรรมะ แก่บรรดาทหารหาญทั้งหลาย เมื่อพิจารณาในแง่นี้ ก็อาจกล่าวได้ว่า ทั้งคำว่า สารสนเทศ และ สารนิเทศ นั้น ต่างก็อาจนำไปใช้ ในความหมายว่าเป็น information ได้ด้วยกันทั้งคู่ เพราะ information นั้นก็คือ ข่าวสาร หรือ สิ่งที่เราชี้แจง หรือ แสดงให้ผู้รับเกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องราว ที่เราต้องการบอกกล่าวนั่นเอง แต่ที่กลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ติดใจคำว่าสารสนเทศมากกว่า อาจเป็นเพราะคำว่าสารนิเทศนั้น มีความหมายในทางสื่อสาร ดังที่คณะนิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ก็ใช้ภาษาอังกฤษว่า Communication Science มีอีกคำหนึ่งก็คือ ข้อมูล ซึ่งควรทำความกระจ่างตั้งแต่ตอนแรก คำนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้คำอธิบายว่า คือ ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือ หรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมาน หาความจริง หรือการคำนวณ ส่วนพจนานุกรม Webster's [2] ให้ความหมายว่าเป็น "factual information (as measurements or statistics) used as a basis for reasoning, discussion, or calculation" ในทัศนะทางด้านคอมพิวเตอร์นั้น เราเห็นว่า ข้อมูล คือตัวแทนของ โลกแห่งความเป็นจริง ตัวแทนที่แสดง ความเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากร ของหน่วยงานแห่งหนึ่งก็คือ รายละเอียดอันเป็น ข้อความ ตัวเลข และภาพ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ที่เป็นพนักงานของหน่วยงานนั้น รายละเอียดนั้น จะมีมากน้อยเพียงใด ก็สุดแล้วแต่ว่า จะใช้แสดงเรื่อง ของบุคคลเหล่านั้น ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เช่น ข้อมูลบุคลากร โดยทั่วไปอาจจะไม่มี เรื่องเกี่ยวกับ สีของตา สีของผม หรือตำหนิบนร่างกาย แต่ข้อมูลของ ผู้ที่ต้องการขออนุญาต มีหนังสือเดินทาง จะต้องระบุข้อมูลเหล่านี้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย ก็อาจจะต้องมีรายการที่เกี่ยวกับ น้ำหนัก ส่วนสูง กลุ่มเลือด ความดันโลหิต ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเรื่องอะไร หรือในด้านใด สิ่งที่สำคัญที่สุด ประการแรกก็คือ ข้อมูล สมบูรณ์ มากพอ ที่จะใช้อธิบายเรื่องนั้น ได้ครบถ้วนและ ถูกต้อง ข้อมูลโดยทั่วไปนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยมาก แม้ว่าข้อมูลทุกรายการ จะมีความจำเป็น แต่ถ้าหากเราให้ข้อมูล ทุกรายการแก่ผู้รับ ก็ยังอาจจะทำให้ผู้รับ เกิดความสับสนได้ง่าย ยกตัวอย่าง เช่นถ้าหากนายแพทย์ ให้ข้อมูลทุกรายการ เกี่ยวกับผู้มาตรวจสุขภาพ โดยบอกตัวเลขเช่น ความดันโลหิต ชีพจร ระดับคลอเรสเตอรัล ระดับไตรกลีเซอไรน์ ระดับน้ำตาล ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ ก็อาจจะไม่มีความหมายใดๆ ต่อผู้รับมากนัก สู้บอกง่ายๆว่า "คุณมีสุขภาพแข็งแรง เป็นปกติดี" ไม่ได้ ข้อความที่นายแพทย์ แจ้งแก่ผู้มาตรวจสุขภาพ แบบนี้แหละ ที่ทางวงการคอมพ

ขอบคุณค่ะ ละเอียดมากเลยค่ะ

ขอบคุนค่ะ รักคนพิมจัง ^^

สวัสดีค่ะ คุณ LLSD_BerrYจัง สนใจด้านนี้ด้วยเหรอคะ

อิอิ....ดีจัง.....คุนคะ

ระบบสารสนเทศมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตมนุษย์อย่างไร

แจ๋วเลยครับ ดีมากครับเป็นประโยชน์มากเลย

ขอบคุณค่ะ ผู้มาเยือนที่มาเยี่ยมชมกัน

ดีจังเยย หากว่าจะเจอสารสนเทศเน้นๆ ไม่มีคำว่าระบบ คนลงน่ารักจังเยย เดวมีจีบอิอิ

เนื้อหายาวมากๆๆๆๆๆ

ทำไมต้องเรียนระบบสารสนเทศด้วย

ข้อมูลละเอียดมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆเลย

นางสาว วันเพ็ญ แก้วอุดร รุ่นที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ รหัส B 5210012 วิชา สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า

ส่งการบ้านข้อที่ 1.

1.สารสนเทศคืออะไร มีความสำคัญต่อการเรียนรู้อย่างไร

ตอบ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวณผลหรือการระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้

- ลักษณะสารสนเทศที่ดี -

เนื้อหา ( Content )

- ความสมบูรณ์ครอบคลุม ( Completeness )

- ความสัมพันธ์กับเครื่อง ( Relevance )

- ความถูกต้อง ( Aecuracy )

- ความเชื่อถือได้ ( Reliability )

- การตรวจสอบได้ ( Verifiabiltity )

- รูปแบบ ( Fromat)

1. ความชัดเจน (Clarity )

2. ระดับรายละเอียด (Livel of detail)

3. รูปแบบการนำเสนอ (Presentation )

4. สื่อการนำเสนอ (Media )

5. ความยืดหยุ่น (Flexibility)

6. การประหยัด (Economy)

- เวลา (Time)

ความรวดเร็วและทันใช้

การปรับปรุงให้ทันสมัย

มีระยะเวลา

- กระบวนการ (Process)

ความสามารถในการเข้าถึง

การมีส่วนร่วม

การเชื่อมโยง

ระบบของสารสนเทศเพื่อการจัดการ ( Mangement Information System )

คือ ระบบที่รวบรวม ประมวณ เก็บรักษา และเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน การพัฒนาตัดสินใจ ประสานงานและควบคุมการดำเนินงาน

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำเสนอข้อมูล ผ่านระบบประมวณคำนวณวิเคราะห์ และแปลความหมายเป็นข้อความนำไปใช้ประโยชน์

เช่น สารสนเทศ ที่เป็นความรู้เกิดจาก วิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ

--- มีความสำคัญต่อการเรียนรู้ โดยนำนวัฒกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็เข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในของการศึกษา ผู้บริหารการศึกษายุกใหม่ ต่างก็นำนวัฒกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ประโยชน์ในการบริหารจัดการศึกษา เพื่อให้ประสบผลสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สารสนเทศใช้ในการบริหารสถานการศึกษา ปัจจุบันสถานศึกษาหลายแห่งพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงานด้านต่างๆ ทั้งการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานธุรการ การบริหารกิจการนักเรียน การบริหารงานบุคลากร การเงิน พัสดุ ครุภัณฑ์ การหารอาคารสถานที่และการบริหารชุมชนได้

ขอบคุณสำหรับการแบ่งปันความรู้ ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท