รายงานที่สรุป


สรุปรายงานKM
  1. ศูนย์ความรู้กรมอนามัย

     

  2. วิสัยทัศน์
    องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ
    มีอะไรบ้างในศูนย์ความรู้กรมอนามัย
    - ฐานความรู้และแนวปฏิบัติด้านการส่งเสริมสุขภาพ
    - แหล่งสืบค้นที่สามารถเชื่อมโยงสู่ฐานความรู้
    - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนแนวปฏิบัติด้านการส่งเสริมสุขภาพ
    พันธกิจ
    1.การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย
    2.การผลิต พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม
    3.การถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพ
    4.การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพให้เข้มแข็ง
    หน้าที่ความรับผิดชอบ กรมอนามัย
    กรมอนามัยมีภาระกิจในการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยมีการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ครอบครัว
    ผลผลิตของกรมอนามัย
    1.สื่อส่งเสริมสุขภาพ
    2.เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    3.สรุปการดำเนินงานของหน่วยงาน
    4.ศูนย์ข้อมูล
    5.ประชุมวิชาการ
    6.ศูนย์ความรู้
    7.เวปไซต์ความรู้
    8.รณรงค์สร้างกระแส
  3.   การจัดการความรู้ บริษัทAIS
  4.  

    การสร้างวิทยากรภายใน
    บริษัทAISจัดการความรู้โดยการสร้างวิทยากรภายใน  ในการจัดการความรู้ของบริษัทAIS เพื่อช่วยลดบทบาทระดับบุคคลลง เพื่อให้เกิดการพัฒนาในภาพรวม โดยการสร้างศูนย์กลางของผู้เชี่ยวชาญ  ซึ่งการสร้างวิทยากรภายในนั้นจะเป็นการถ่ายทอดความรู้ประเทภTatic ที่วิทยากรมีไปเป็น Tatic ของผู้เรียนอีกหลายๆคน
    แต่งตั้งคณะทำงาน

     

         มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในเรื่องที่จะได้รับมอบหมาย
     จัดทำคู่มือผู้สอน
       1. กำหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
        2. กำหนดรายละเอียดของหลักสูตร
  5.  

    เขียนแผนการสอน
  6.  

    แผนการสอน คือ แนวทางที่วิทยากรเตรียมการไว้ล่วงหน้าว่าจะดำเนินการอย่างไรในการฝึกอบรม
    จัดทำคู่มือผู้สอน    บรรจุเอกสารลงในแฟ้ม ซึ่งประกอบด้วย
    ทดสอบสอน       ควรมีการทดสอบสอน โดยใช้คู่มือที่ผู้เรียนเป็นผู้พัฒนา  ในครั้งแรกควรให้เวลาประมาณ 15 นาที 
    ติดตามผล      ควรมีผู้ให้การวิพากษ์ เพื่อให้ผู้ทดสอบสอนนำข้อเสนอแนะกลับไปปรับปรุงอีกครั้ง
  7.  

    ขึ้นเวทีจริง
  8.  

    ควรจัดการฝึกอบรม โดยให้โอกาสวิทยากรมือใหม่ได้มีโอกาสในการลองเวที 
    ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข พนักงานติดงาน  ไม่มีเวลา แนวทางแก้ไข ควรเลือกเวลาที่เหมาะสมสำหรับทำโครงการ  เลือกช่วงที่ไม่มีงานเร่งด่วน ซึ่งจะทำให้พนักงานร่วมโครงการอย่างเต็มใจ
  9.  

    การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร

     

                   
  10. กรมส่งเสริมการเกษตรได้ยึดเอาพันธกิจหลักของกรม คือ ต้องการให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน  เป็น เป้าหมาย / หัวปลา  ของการจัดการความรู้  พร้อมทั้งยืนยันในบทบาทของกรมที่เป็น  คุณอำนวย  ส่งเสริมเกษตรกร  คุณกิจ  ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง
    กรมส่งเสรมการเกษตรได้กำหนดวิธีการดำเนินงานเป็น  3  ขั้นตอนหลัก  คือ

     1.ขั้นตอนการเตรียมการ  ขั้นตอนการดำเนินงาน  และขั้นตอนการติดตามและประเมินผล  โดยขั้นตอนการเตรียมการ  เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่จะต้องสร้างความเข้าใจในทุกระดับเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ
    2.ขั้นตอนการดำเนินการ  จะดำเนินการตามแนวการบริหารจัดการความรู้ในองค์กร  มีการจัดทำเป้าหมาย  มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
    3.ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล  จะติดตามผลว่า การดเนินงานนั้นประสบความสำเร็จหรือไม่อย่างไร  เพื่อจะได้นำมาแก้ไข  ปรับปรุง  และวางแผนขยายผล

     

    ไม้เรียง

     

    มหาวิทยาลัยชีวิต
    "ไม้เรียง"
  11. เป็นที่รู้จักในฐานะชุมชนแห่งการพึ่งตนเอง ไม้เรียง  คือตำบลหนึ่งในอำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
    ไม้เรียงวันนี้   มี "ทุนทางปัญญา" เพราะมีการเรียนรู้
    มีการคิดแบบยุทธวิธี  มีการวางแผนในการทำงาน  มีการ shareความรู้กันระหว่างผู้ทำงาน

    ปัญหาชาวไม้เรียง
    - ชาวสวนยางไม่สามารถกำหนดราคาเพราะคุณภาพยางแผ่นที่นำไปขายไม่สม่ำเสมอและแตกต่าง   เพราะต่างคนต่างทำ น้ำหนักพ่อค้าก็เป็นคนกำหนด
    การแก้ไขปัญหา (การจัดการความรู้)
    1.ชาวบ้านเข้าร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น
    2.ส่งกลุ่มผู้นำไปเรียนรู้ดูงานจากที่อื่น
    3.สร้างโรงงานเอง บริหารจัดการกันเอง ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น ทำในขนาดที่พอดีกับไม้เรียง   พอดีกับทรัพยากร ผลผลิตคน ขีดความสามารถในการบริหารจัดการ   ความรู้ตัวตระหนักว่า "พอดี" อยู่ตรงไหนสำคัญอย่างยิ่ง
    ชุมชนเข้มแข็ง  ไม้เรียง
    ๑. ชุมชนเข้มแข็งเพราะเป็นชุมชนเรียนรู้ 
        ๒. ชุมชนเข้มแข็งตัดสินใจอย่างเป็นอิสระ
       ๓. ชุมชนเข้มแข็งจัดการ "ทุน" ของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
     ๔. ชุมชนเข้มแข็งมีธรรมาภิบาล

     

     

  12.  

  13.  

  14.  

     TOYOTA
    หลักการที่สำคัญ
    1.พัฒนาตนเองอยูตลอดเวลาและอยางตอเนื่อง เรียกว Kaizen
    2.ในการปฏิบัติงานก็มีระบบการใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ในแทบทุกกระบวนการ ซึ่งเรียกว่า 5 Whys
    3.การแลกเปลี่ยน tacit knowledge ระหว่างกันในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาต่างๆ จะยึดหลัก Genchi-Genbutsu (Go and See)
    4 "การเรียนรู้" ของโตโยต้าเน้นที่ OJT - on the job training
    5.การนำเสนอ "ความรู้" ระดับบุคคล  ได้แก่  Suggestion System
    6.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประจำวัน   เรียกว่า Morning Talk
    7.ตัวเครื่องมือสำหรับ Continuous  Improvement คือ PDCA หรือ QCC
    8.เจ้าหน้าที่ระดับหน้างานได้ "เห็น" (visualize) กราฟหรือถ้อยคำง่าย ๆ ที่สะท้อนคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพในภาพรวมของโรงงานและแต่ละ "หมู่บ้าน" ก็เขียนรายงานง่าย ๆ ว่าตนได้ปรับปรุงงานในลักษณะลดการสูญเสียอย่างไรบ้าง
    9.ผู้บริหารทำหน้าที่เอาภาพย่อยๆ เหล่านี้ไปสังเคราะห์เป็นภาพรวมและสอดส่ายสายตาหา   "ผลงานเลิศ"/"วิธีการเลิศ"นำมายกย่องและทำให้เป็นมาตรฐานใหม่ในระดับองค์กรเห็นการบริหารงานแบบ empowerment ชัดเจน   แต่ไม่ใช่ empowerment แบบไร้โครงสร้าง
    10. การบริหารต่อระดับล่างแบบ empowerment   ผู้บริหารระดับสูงก็บริหารทิศทางและความมั่นคงระยะยาว        
     5 Whys  ของ  บริษัท Toyota คือ
    การปฏิบัติงานจะมีระบบการใชความรูในการวิเคราะหอยูในทุกๆกระบวนการ กล่าวคือ หากพบปัญหาใดๆ ก็ตามผูจัดการและผูปฏิบัติงานจะตองรวมกันวิเคราะหญหาโดยตั้งคําถาม 5 ประการ และมีการแลกเปลี่ยน tacit knowledge ระหวางกันในการวิเคราะหรวมทั้งการแกญหาตางๆ จะยึดหลัก Genchi-Genbutsu (Go and See) ซึ่งทําใหการวิเคราะหและแกญหาเปนไปอยางลึกซึ้ง และสามารถลดระยะเวลาในการระบุสาเหตุของปญหาได้และสามารถแกไขปญหาไดรวดเร็ว 
     7 Eleven
    ปรัชญาองค์กร
    เราปราถนารอยยิ้มของลูกค้าด้วยทีมงานที่มีความสุข
    วิสัยทัศน์
    เราคือผู้ให้บริการสะดวกซื้อ กับลูกค้าทุกชุมชน
    Knowledge Asset
    1.แผนการพัฒนาองค์กรมุ่งสู่องค์กรที่มีคุณภาพ มีการประกาศนโยบายมุ่งเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร
    2.นำกิจกรรมเพิ่มผลผลิตต่างๆ มาใช้ในองกร ซึ่งก่อให้เกิดการเรียนรู้ Share กันภายในองค์กร
    3. การสื่อสารแบบ 2 Way communication
    4.นโยบายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กรโดยเน้นบุคคลที่มีศักยภาพ
    5.มีการแต่งตั้งคณะทำงานจากตัวแทนทุกสำนัก เข้ามาร่วมประชุมและประเมินผลพื่อให้พนักงานในทุกกลุ่มทุกระดับได้มีส่วนร่วม

     

    สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม

     

    แนวทางการดำเนินงานของ สคส.
    1.สร้างขีดความสามารถในด้านการจัดการความรู้
        เน้นการส่งเสริมงาน   “พัฒนาและวิจัย”   ศาสตร์และรูปแบบการจัดการความรู้ในองค์กร(Organization-based), การจัดการความรู้เป็นรายประเด็น (Issued-based) และเป็นรายพื้นที่  (Area-based)  ภายใต้บริบทของไทย  พร้อมทั้งสร้างการเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายภาคีเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดจนส่งเสริมการสร้างนักประสานงาน นักอำนวยความสะดวกจัดการความรู้ ณ จุดปฏิบัติการต่างๆ
    2.สร้างกระแสการจัดการความรู้ในสังคมไทย
      ใช้การจัดกิจกรรมต่างๆ เช่นมหกรรมความรู้หรือตลาดนัดความรู้ทั้งในระดับจังหวัด ภาค และประเทศ การตั้งรางวัลชุมชนกิจกรรมความรู้แห่งปี เพื่อสร้างกระแส และกระตุ้นให้คนในสังคมไทยเกิดความสนใจในการใช้การจัดการความรู้ เพื่อทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งใช้วิธีการอื่นๆ และใช้การสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ กับสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง

     

    การดำเนินการตามยุทธศาสตร์สร้างขีดความสามารถในด้านการจัดการความรู้

     

    1.  ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดโครงการพัฒนาและวิจัยการจัดการความรู้ในกลุ่มหน่วยงาน หรือองค์กร กลุ่ม
    1.1 โรงเรียน
    1.2 สถาบันอุดมศึกษา
    1.3 โรงพยาบาล                                                                  
    1.4 หน่วยราชการ
    1.5 องค์กรเอกชนไม่แสวงกำไร (เอ็นจีโอ)                   
    1.6 ธุรกิจขนาดย่อม
    1.7 องค์กรประชาชน
    2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดโครงการพัฒนาและวิจัยการจัดการความรู้เป็นรายประเด็น
    2.1 เกษตรยั่งยืน
    2.2 การพัฒนาเมล็ดพันธุ์ระดับชาวบ้าน
    2.3 ธุรกิจชุมชน
    2.4 โครงการเชิงประเด็นอื่นๆ
    3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดโครงการพัฒนาและวิจัยการจัดการความรู้เป็นรายพื้นที่ ภายใต้บริบทของไทย
    4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการประชุมปฏิบัติการเพื่อฝึกอบรมหลักการ ทฤษฎี และวิธีการ แนวปฏิบัติ ด้านการจัดการความรู้
    5. ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาศาสตร์ ด้านการจัดการความรู้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับวัฒนธรรมไทย และสอดคล้องกับบริบทต่างๆ ที่หลากหลาย
    สคส. จะใช้วิธีเชื่อมโยงภาคีเข้ามาร่วมคิด ร่วมจัด และร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างกระแสการจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดย สคส. จะเปิดรับภาคีที่สนใจมาร่วมในภารกิจดังกล่าว นอกจากนี้ สคส. จะมีการใช้สื่อต่างๆ ในหลากหลายรูปแบบเพื่อสื่อสารกับคนในสังคมไทยทุกระดับชั้นในเรื่องการจัดการความรู้เพิ่มมากขึ้น
    บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
    อุดมการณ์
    ตั้งมั่นในความเป็นธรรม ” 
    มุ่งมั่นความในความเป็นเลิศ ” 
    เชื่อมั่นในคุณค่าของคน ”  
    ถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม
    Strategies  กลยุทธ์ของเครือซีเมนต์ไทย
    Merit System : ระบบคุณธรรม
    Fairness : มีความเป็นธรรม  มีเหตุผล
    Best recruit and retain : มีกระบวนการในการสรรหา
    Training and Development
    องค์กรแห่งการเรียนรู้

     

    บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่า........ พนักงานมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อองค์กร ให้ความสำคัญกับการดูแล เอาใจใส่สุขภาพอนามัย

     

    สคส
    การจัดการความรู้ หรือที่เรียกว่า KM คือเครื่งมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมาย
    ประเภทความรู้
    ความรู้แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
    1. ความรู้เด่นชัด ความรู้ที่อยู่นรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือวิชาการ
    2. ความรู้เด่นชัด เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในคน
    ความรู้เด่นชัดจะเน้นที่ การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอนและตีความได้ เมื่อนำไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ส่วนความรู้ซ้อนเร้น จะเน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้ มีการบ่งปันความรู้ที่มีอยู่ในตัวผู้ปฏิบัติทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันนำไปสู่ความรู้ใหม่
    โมเดลปลาทู

     

  15. ส่วนหัว KV ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์หรือทิศทาง ของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำการจัดการความรู้

     

  16. ส่วนตัวปลา KS เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญซึ่ง คุรอำนวย มีบทบาทในการกระตุ้นให้คุณกิจ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยความรู้ซ่อนเร้นมีอยู่ในตัวคุณกิจ

     

  17. ส่วนหางปลา  KA เป็นส่วนของ คลังความรู้ หรือขุมความรู้ ที่ได้จากการเก็บสะสม เกร็ดความรู้ ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ตัวปลา ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของหางปลา

     

  18. คนสำคัญที่ดำเนินการจัดการความรู้

     

  19. ผู้บริหารสูงสุด เป็นผู้บริหารสูงสุดควรเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจัดการความรู้

     

  20. คุณเอื้อ 

     

  21. คุณอำนวย เป็นผู้คอยอำนวยความสะดวก ในการจัดการความรู้ ความสำคัญของ คุณอำนวย อยู่ที่การเป็นนักจุดประกายความคิดและการเป็นนักเชื่อมโยง

     

  22. คุณกิจ คือ ผู้ปฏิบัติ เป็นผู้ดำเนินกิจการจัดการความรู้ประมาร ร้อยละ 90-95 ของทั้งหมด

     

  23. คุณประสาน  เป็นผู้ที่คอยประสานเชื่อมโยงเครือข่ายการจัดการความรู้ระหว่างหน่วยงาน ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวงที่กว้างขึ้น เกิดพลังร่วมมือทางเครือข่ายในการเรียนรู้และยกระดับความรู้ดป็นทวีคูณ

     

  24. 1.จากเครือข่ายปลอดสารสู่เครือข่ายสุขภาพ
    การจัดการความรู้เพื่อพิจิตรแข็งแรง
    KM เพื่อเกษตรธรรมชาติและอาหารปลอดสารพิษ จ. พิจิตร

     

    ชมรมเกษตรธรรมชาติและอาหารปลอดสารพิษ เป็นองค์กรที่มีเป้าหมายคือ การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองของเกษตรกร

     

    1.เป็นองค์กรที่มีพื้นที่การทำงานในจังหวัดพิจิตร 
    2.ก่อตั้งขึ้นเมื่อ เดือนกันยายน 2542
    3.มีสมาชิก จำนวน 5,000 คน
    4.ศูนย์ประสานงานตั้งอยู่เลขที่ 4 / 178 – 179 ถ.สระหลวง อ.เมือง จังหวัดพิจิตร
    ยุทศาสตร์
    1.การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรและเครือข่าย
    2.การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้
    3.การพัฒนาองค์ความรู้ภูมิปัญญา เทคโนโลยี รูปแบบการผลิต การแปรรูป การตลาด และการ
    ชมรมเกษตรธรรมชาติ
    โดยแบ่งการเข้ามาได้เป็น 3 ลักษณะ คือ ทำงานเกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนอยู่แล้ว ผ่านสื่อกลาง  เข้ามาเรียน วปอ.ภาคประชาชน
    2.  ลำดับเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้น ในการทำงานของชมรมเกษตรธรรมชาติ
    พ.ศ 2543
    - ได้รับการสนับสนุน จากสถานทูตออสเตรเลีย ในเรื่องการทำเกษตร 
    ปลอดสารพิษครบวงจร
    - จัดอบรมเกษตรกรทำในพื้นที่นำร่อง 7 หมู่บ้าน
    - ประสานการซื้อกากน้ำตาล ให้เกษตรกรในพื้นที่นำร่อง
    -บุคคลากรที่มีบทบาทการทำงานเกษตรปลอดสารพิษร่วมงานเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคอีสา 
    พ.ศ. 2544
    - ได้รับการสนับสนุน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรอย่างยั่งยืน จากสถานทูตออสเตรเลีย
    - ร่างหลักสูตร วปอ.ภาคประชาชน ที่ได้แนวคิดจากการร่วมงานเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคอีสาน
    - เปิดสอน วปอ.ภาคประชาชน รุ่นที่ 1
    - ขยายพื้นทีเกษตรปลอดสารพิษ จำนวน 5 อำเภอ ในพิจิตร
    - เริ่มแลกเปลี่ยนเกษตรกรนำร่องในแต่ละพื้นที่หมุนเวียนออกรายการวิทยุ
    พ.ศ. 2545
    -เปิดสอน วปอ.ภาคประชาชน รุ่นที่ 2 , 3,4,5
    -ขยายพื้นที่นำร่องเกษตรปลอดสารพิษออกไปอีกจำนวน 10  อำเภอ     
    -จัดตั้ง ศูนย์กระจายกากน้ำตาล
    -เริ่มก่อตั้งกลุ่มระดับอำเภอ
    พ.ศ.2546
    - ขยายพื้นที่การทำเกษตรปลอดสารพิษ นำร่องครบทุกอำเภอในจังหวัดพิจิตร
    - ขยายการก่อตั้งกลุ่มระดับอำเภอ
    - เปิดสอน วปอ.ภาคประชาชน รุ่น ที่ 6,7,8,9  
    3. ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตเกษตรกร 
    4.  หลักสูตร วิทยากรกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง
     วัตถุประสงค์
    1.สร้างผู้นำการเปลี่ยนสู่การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง
    2.สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ผู้มีน้ำใจ
    3.เป็นแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรปลอดสารพิษ
    4.ส่งเสริมภูมิปัญญาและพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้าน
    5.ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
    ทางการและไม่เป็นทางการทั่วทั้งองค์กร
  25.  

    การจัดการความรู้ของโรงพยาบาลศิริราช

     

    โรงพยาบาลศิริราชเป็นโรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล ระดับตติยภูมิ ( สถิติปี พ.ศ. 2546 งานพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล) มีหอผู้ป่วยในทั้งหมด 172 หอ คิดเป็นจำนวนเตียง 2,468 เตียง เฉลี่ยมีผู้ป่วยในเข้ารับการรักษาพยาบาลประมาณปีละ 75,271 รายและมีจำนวนบุคลากรทั้งหมด 9,924 คน
  26.  

    ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในการจัดการความรู้

     

    1.ผู้บริหารต้องเข้าใจอย่างดีถึงประโยชน์ของการนำการจัดการความรู้มาใช้ ในองค์กรที่มีการสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่องโดยการแสดงรูปธรรมของการให้การสนับสนุนให้ประจักษ์
    2.มอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างเต็มเวลา
    3.มีการพัฒนา Facilitator เข้าใจแนวคิดและมีทักษะเพียงพอ
    4.กำหนด Milestone ให้ชัดเจน เพื่อให้มีการติดตามและประเมินผล
    5.สื่อสารทำความเข้าใจกับคนในองค์กรให้เห็นความสำคัญของการจัดการความรู้
    6.จัดให้มีช่องทางของการโอนความรู้ที่หลากหลาย  นอกเหนือจากเรื่อง ITที่เป็นช่องทางหลัก
    7.กระตุ้นให้มีการจัดตั้ง  CoP  ทั้งในแบบที่เป็น
  27.  

    TRUE
  28.  

    วิสัยทัศน์     ยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของ ทรู  คือ การเป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารครบวงจรและมุ่งตอบสนองลูกค้าเป็นหลัก  แก่นแท้ซึ่งเป็นที่มาของวิสัยทัศน์ของบริษัท คือ คุณค่าความเป็น ทรู ที่แสดงออกในชีวิตประจำวันและเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย

     

  29. เชื่อถือได้
    2.  สร้างสรรค์
    3.  เอาใจใส่
    4.  กล้าคิดกล้าทำ
    5.  การเริ่มต้น KM ของ True

     


  30. โครงการนำร่อง การจัดการความรู้ในองค์กร

     

  31. การดำเนินการตามโครงการ

     

    1 ขั้นตอน การปรับเปลี่ยนและการจัดพฤติกรรม
    2.ขั้นตอน การสื่อสารทั่วทั่งองค์กร
    3.การพัฒนากระบวนการและเครื่องมือ
    4.การเรียนรู้
    5.การวัดและติดตามประเมินผล
    6.สร้างแรงจูงใจ
    ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำ KM
    1.ทำให้ True ได้ Central Knowledge Center ซึ่งได้รวบรวมเอกสารนับพันฉบับในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลสำคัญในการตอบคำถามลูกค้า  
    2.พนักงานกว่า 1,500 คนสามารถใช้ข้อมูลเหล่านี้ให้แก่ลูกค้าได้ในเวลาอันรวดเร็ว  และเอกสารกว่า 50,000 หน้าที่ได้เปิดใช้งาน   ได้ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ที่ทรงอานุภาพสำหรับ Call Center และตัวแทนขาย  
    3.จากประสบการณ์ KM   4 ปี ทำให้ True ได้เรียนรู้สิ่งที่มีคุณค่าต่อการพัฒนากระบวนการทำงานที่จะนำไปสู่เป้าหมายขององค์กร   ถือได้ว่าเป็นชุดความรู้ที่เกิดขึ้นจากการลงมือทำ KM 

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 15096เขียนเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2006 20:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 14:24 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท