พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง


คำบางคำ เมื่อพูดออกไปแล้ว อาจก่อผลร้ายให้กับตนเองและผู้อื่น สู้ไม่พูดจะดีกว่า เพราะหากพูดไปแล้ว ไม่มีประโยชน์อะไร

คำบางคำ เมื่อพูดออกไปแล้ว อาจก่อผลร้ายให้กับตนเองและผู้อื่น สู้ไม่พูดจะดีกว่า เพราะหากพูดไปแล้ว ไม่มีประโยชน์อะไรทั้งต่อผู้ฟังและต่อผู้พูด ภาษิตไทยโบราณจึงเตือนสติเราว่า พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง และพระพุทธองค์ตรัสว่า หากจะพูดขอให้พูดในสิ่งที่เป็นจริงและเป็นประโยชน์เท่านั้น ถ้าไม่จริงไม่เป็นประโยชน์ หรือจริงแต่ไม่เป็นประโยชน์ หรือไม่จริงแม้เป็นประโยชน์ ก็ไม่ควรพูดสิ่งนั้น

หมายเลขบันทึก: 14862เขียนเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2006 07:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 สิงหาคม 2016 08:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)

ผมอยู่ป.4คุณลุงช่วยผมได้มากครับ

แหล่มเลยครับลุงผมอยุ่grade7ช่วยได้มาก

แหมมันก็ใช่นะ

สิใครอยากจะพูด

ถ้าพูดไปแล้วคนอื่นเค้า

จะหาว่าแก้ตัวหรือไม่คนอื่น

อาจจะไม่เชื่อก็ได้แก้ตัวก็หาว่าใส่ร้าย

คนอื่นนะเนี่ยไม่งั้นสุภาษิตของไทยเค้าคง

ไม่แต่งว่า พูดไปสองไพเบี้ย นึ่งเสียตำลึงทอง หรอนะ

ผมจะนำไปใช้ครับ*/\*

คุณลุงขาหนูอยากรู้ว่าสำนวนพูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง

สอนให้รู้ว่าอะไรเหรอคะ

สอนให้รู้ว่า พูดไปมีแ่ต่จะเสียหาย (แม้ว่าจะดีแต่อาจไม่ใช่สิ่งดีสำหรับผู้ที่เราพูดด้วย) สู้นิ่งเฉยดีกว่า อาจได้ประโยชน์ที่ควรได้มากกว่าการพูดออกไป

ขอบคุณค่ะ

อันนี้สอนให้รู้ว่าพูดแต่สิ่งที่ดี

เพิ่มเติมนิดหนึ่งนะครับสะหรับคุณหนูๆทั้งหลาย สิ่งที่จะพูดได้คือ เนื้อความจริง มีประโยชน์ในทางสร้างสรร และในเวลาที่เหมาะสมด้วยนะครับ

หนู อยู่ ป.4ค่ะ ขอบคุณค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท