๑๐ วิธีการเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ในการแก้วิกฤตของประเทศ


การพัฒนาในยุคใหม่ ต้องการจิตสำนึกใหม่ ซึ่งมิใช่การรับรู้รู้ รับถ่ายทอดความรู้เท่านั้น แต่ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ หรือการจัดการกับความรู้ (knowledge management) เพื่อก่อให้เกิด จิตสำนึกแห่งการเป็นพวกเดียวกัน มีเอกภาพในความหลากหลาย จิตสำนึกแห่งการเป็นมิตรต่อกัน จิตสำนึกแห่งการพึ่งพาอาศัยกัน จิตสำนึกแห่งการเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ไว้วางใจกัน จิตสำนึกในการสร้างพลังร่วมของหมู่คณะ

คุณธรรมรักษ์ การพิศิษฐ์ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิรัดับ ๑๑  ของ สศช.  ปัจจุบันเป็นกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ   ได้เขียนบทความลงในประชาชาติธุรกิจ    หน่วยราชการที่ต้องการดำเนินการ KM อาจสนใจ    จึงขอแนะนำให้อ่านได้จาก

http://www.matichon.co.th/prachachart/prachachart_detail.php?s_tag=02edi04130648&show=1&sectionid=0212&day=2005/06/13

วิจารณ์ พานิช

หมายเลขบันทึก: 144เขียนเมื่อ 12 มิถุนายน 2005 04:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 13:51 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท