TRUST AND KNOWLEDGE SHARING:A CRITICAL COMBINATION (IBM)


KNOWLEDGE SHARING อยู่บนพื้นฐานของความเชื่อใจ

Trust and knowledge sharing: A critical combination

IBM Institute for Business Value studyby: Lisa Abrams, Rob Cross, Eric Lesser and Daniel Z. Levin20Mar2003

เมื่อไม่นานมานี้ สถาบันองค์การจัดการความรู้ของ IBM หรือ IKOได้ศึกษาบทบาทที่แท้จริงในการแบ่งปันความรู้ โดยมีปัจจัยในเรื่องจุดแข็งของความสัมพันธ์ระหว่างผู้หาความรู้ และแหล่งกำเนิดความรู้ ความแตกต่างระหว่างพื้นฐานความสามารถ และพื้นฐานความTไว้ใจ และชนิดของการแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลจากการสำรวจ 2 ส่วนของผู้ตอบ 138 คนใน 3 บริษัทถูกวิเคราะห์เพื่อมองเห็นผลกระทบจากการไว้ใจการแบ่งปันความรู้ และประเมินตนเองในเรื่องการไว้ใจเมื่อมองหาความรู้ โดยที่ใช้การเข้าใจอย่างลึกซึ้งใหม่นี้ ผู้จัดการสามารถใช้การกระทำชัดเจนที่จะช่วยสร้างไว้ใจ-- และตามวาระ กระตุ้นที่แบ่งปันความรู้

มีวิธีอย่างไรที่จะสามารถกระตุ้นให้คนร่วมกันแบ่งปันความรู้ที่เขามี ซึ่งเป็นคำถามบ่อยๆในการใช้ขับเคลื่อนความรู้ขององค์กร ในการศึกษา วรรณกรรมธุรกิจ และประสบการณ์ส่วนบุคคล ทำให้พนักงานที่ทำงานร่วมกันสามารถนำพาไปสู่ความสำเร็จของการแบ่งปันความรู้ ผู้จัดการไม่สามารถรู้ว่าการแลกเปลี่ยนความรู้จะทำให้เกิดคุณค่าอย่างไร เขาควรจะให้พนักงานทำงานในพื้นที่เดียวกัน ให้พวกเขารวมกลุ่มกันเป็นแบบ " ropes courses" และถามพวกเขาถึงส่วนในสุดของเขาทั้งหลายที่คิด และความรู้สึก?

เพื่อรับการเข้าใจแข็งแรงมากกว่าของเนื้อหาที่ผ่านมาให้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล และที่แบ่งปันความรู้ สถาบันองค์การจัดการความรู้ของ IBM ได้ทำการสำรวจ 138 คน 3 บริษัทคือในส่วนของบริษัทเกี่ยวกับเภสัชกรรมธนาคารอังกฤษ และบริษัทกลุ่มน้ำมัน และแก๊สในแคนาดา สามกลุ่มทั้งหมดถูกประกอบด้วยคนที่มีความรู้ มีความไว้วางใจในข้อมูลข่าวสารของเพื่อนร่วมงาน เกี่ยวกับการตอบถูกถามเพื่อพิจารณาโครงงานบนสิ่งซึ่งเขาได้ทำงานอย่างเมื่อไม่นาน และให้ประโยชน์อัตราของความรู้ที่เขารับจากสิ่งเหล่านั้นที่เขาแสวงหาสำหรับคำแนะนำบนโครงงานนั้น ผลลัพธ์ของการสำรวจมีความคล้ายคลึงกันทั้ง 3 บริษัท ดังนี้

  1. ความเชื่อใจ Trust – The missing link บนพื้นฐานของความสามารถ (Competence-based trust) และความไว้ใจ (benevolence-based trust) เช่นพนักงานจะเชื่อใจเพื่อนพนักงาน ถ้าพนักงานคนนั้นรู้ข้อมูลข่าวสารที่เขาต้องการรู้ (competence) แต่เพื่อนพนักงานจะไม่เชื่อใจถ้าข้อมูลนั้นไม่จำเป็นต้องใช้ในขณะนี้ (benevolence)
  2. ความแตกต่างในความรู้ที่ต้องการ เป็นรูปแบบความแตกต่างของความไว้ใจ (Different types of knowledge require different forms of trust)
  3. ทำการตัดสินใจในแหล่งความรู้ที่เชื่อใจได้ (Making the decision to trust a knowledge source) ปัจจัยที่มีความสำคัญในการตัดสินใจบนพื้นฐานของความรู้ (competence-based trust) คือภาษา (common language) การมอง (common vision) และการไตร่ตรองที่รอบคอบ (discretion) ส่วนความสำคัญของการไว้ใจคือ Receptivity และ Strong ties

ผู้จัดการสามารถช่วยเหลือสร้างความมั่นใจดังนี้

  1. สร้างความเข้าใจในวิธีการทำงาน (Create a common understanding of how the business works)
  2. แสดงความเชื่อใจ โดยสร้างให้เป็นพฤติกรรม (Demonstrate trust-building behaviors)
  3. ให้คนทำงานร่วมกัน

ที่มา : http://www-1.ibm.com/services/us/index.wss/ibvstudy/imc/a1002447?cntxt=a1000401#0

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 1363เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2005 17:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 10:27 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท