ภูมิปัญญา


การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น

 

 

 %e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b9%83%e0%b8%a2%e0%b9%81%e0%b8%ab%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%81

    ภูมิปัญญาไทยที่สั่งสมมาช้านานด้วยสติปัญญา ที่ไร้ใรับรองความรู้ความสามารถที่คนรุ่นใหม่ถวิลหา
ปริญญา ( ปริญญาตรี ) จากรั้วสถานบันการศึกษา เขาเหล่านั้นเป็นใคร ธูปสักร้อยดอก เทียนสักร้อยเล่ม ดอกไม้สักร้อยกำก็คงไม่
สามารถปลุกวิญญาณแห่งภูมิปัญญาของชาวบ้านได้
    การจัดการความรู้ที่มีคุณค่าของคำว่า " ภูมิปัญญา " จากแนวคิดของการเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ
กลุ่ม9 นาดูน มีแนวคิดสร้างสรรค์ เพื่อการเรียนรู้พัฒนาชุมชน โดยเห็นความสำคัญของการเป็นนักศึกษาศูนย์เรียนรู้
เม็กดำ ได้ศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างแท้จริง เช่น การทำรายงาน ทอดองค์ความรู้ แบบวิสาหกิจชุมชน ในส่วนหนึ่ง
ที่ได้ศึกษาของ เนื้อหาวิชานี้ จึงได้เห็น ความหมาย ของคำว่า  " ภูมิปัญญา "  นาดูนกลุ่ม 9 ได้มีแนวคิดเพื่อแรกเปลี่ยน
เรียนรู้กับเพื่อน ๆ นักศึกษาในคำหลักว่า  การจัดความรู้เพื่อพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น นี่คือส่วนหนึ่งของการเป็นนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร เพื่อน ๆ นักษามีแนวคิดอย่างไรกับเรื่องนี้ครับ

 

หมายเลขบันทึก: 122510เขียนเมื่อ 27 สิงหาคม 2007 18:37 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 20:05 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท