การตรวจรูปวิธานของไส้เดือน


บันทึกนี้อยากจะเขียนถึงวิธีการตรวจรูปวิธาน(Identification) ของไส้เดือนดินอย่างคราว ๆ ครับ

ไส้เดือนดินจะใช้ทั้งลักษณภายในและภายนอก ที่เต็ววัยแล้ว คือจะมี ไคเทลั่ม (Clitellum) ขึ้นชัดเจนครับ

ลักษณะภายนอกที่ใช้ได้แก่

  • ขนาดตัว  จำนวนปล้อง  สีของตัว  สีของไคเทลั่ม
  • การเรียงตัวของเดือย (setae) จำนวนต่อปล้อง
  • ลักษณะของริมฝีปาก (Prostomium)
  • ลักษณะของไคเทลั่ม ตำแหน่ง
  • ช่องเปิดของถุงเก็บสเปิร์ม (Spermatecal pores)
  • ช่องเปิดเพศผู้และช่องเปิดเพศเมีย อยู่ที่ตำหน่องไหน มีลักษณะเป็นอย่างไร
  • GM (Genital marking) เป็นตำแหน่งที่ใช้ในการยึดติดกันขณะผสมพันธุ์  มีลักษณะเป็นอย่างไร จำนวนเท่าไร อยู่ที่ตำแหน่งไหน

 

 

 

ขอขอบคุณภาพจาก http://sciencefun4all.net/Life_Sci/05BodyStructure/homework/EarthwormPictures.html

สำหรับภายใน อ่านตอนต่อไปนะครับ

หมายเลขบันทึก: 122398เขียนเมื่อ 27 สิงหาคม 2007 14:22 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 00:28 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท