การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ


ภูมิปัญญาท้องถิ่น

รายงานการพัฒนานวัตกรรม

โครงการหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตนกรรม

……………………………………………………

1.    ชื่อนวัตกรรม  การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

2.     นวัตกรรมด้าน  บริหารงานวิชาการ

3.     ชื่อผู้พัฒนานวัตกรรม  นางพัชรดา  คงสมโอษฐ์

4.      โรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)

          ที่อยู่ หมูที่ 2 ตำบลบ้านรุน  อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  5   ความสำคัญของปัญหา

5.1.   โรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร) เป็นโรงเรียนขนาดเล็กมีครูไม่ครบชั้นเรียน

       5.2     ครูของโรงเรียนขาดทักษะและความชำนาญการในสาขาวิชาที่จำเป็นตามความของนักเรียน   ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา  และหลักสูตร

5..3           ต้องพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะตามความต้องการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

5.4           ชุมชุนต้องการให้โรงเรียนพัฒนาไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

5.2       วัตถุประสงค์

         5.2.1  เพื่อสร้างและพัฒนาคุณภาพของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

         5.2.2  เพื่อศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร) ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา ตามมาตรฐานโรงเรียน 3  ด้าน  คือ ด้านนักเรียน  ด้านการเรียนการสอน  และด้านการบริหารจัดการ

5.3  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

         5.3.2  ประชากรที่ใช้ในการศึกษา

                          ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่  ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)   อำเภอพระนครศรีอยุธยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกพระนครศรีอยุธยา เขต 1 จำนวน  80  คน

5.3.3  กลุ่มตัวอย่าง                            ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามผู้นำชุมชน   5    คน โรงเรียน ผู้ปกครอง   26  คน  คณะกรรมการสถานศึกษา  9   คน  นักเรียน   จำนวน    40  คน 

5.4   เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามผล

          ใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเอง  จำนวน  1  ฉบับ  เป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัด  3  ระดับ   ซึ่งเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

 ดังนี้

             5.4.1  การนำภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาร่วมจัดกิจกรรมการสอนในโรงเรียน ตามหลักสูตร ประถมศึกษา   พุทธศักราช  2544            5.4.2   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1-6   ทุกคน 

5.5  สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ  การสร้างการนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

  เป้าหมายการดำเนินงานและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กับผู้เรียน

           ตอนที่  1  ข้อมูลทั่วไป          ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามผู้นำชุมชน   5    คน โรงเรียน ผู้ปกครอง   20  คน  คณะกรรมการสถานศึกษา  9   คน  นักเรียน   จำนวน    40  คน

          ตอนที่  2  ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำหลักการ  แนวคิด  และแนวปฏิบัติมาใช้เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   สรุปได้ดังนี้

             5.5.1    ความเหมาะสมและความเป็นไปได้                          5.5.1.1   ใช้กระบวนการบริหาร  แบบมีส่วนร่วม และแนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนการสอนของบังอร  พงษ์ประยูร  8  ขั้นตอนในภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษา 2545  คือ

5.5.1.2  สำรวจ  ค้นคว้า และศึกษาแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นข้อมูลของโรงเรียน  

 5.5.1.3   กำหนดแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน เช่น การวางแผนปฏิบัติงาน โครงการ      กำหนดเวลา งบประมาณ  บุคลากร สถานที่ดำเนินการ                   5.5.1.4    ติดต่อประสาน เพื่อขอความสนับสนุน  กับหน่วยงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง                   5.5.1.5    ปรับกิจกรรมให้สามารถใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ เช่น จัดทำหลักสูตร กำหนดการสอน  แผนการสอน ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดทำเครื่องมือในการวัดผล ประเมินผล

                  5.5.1.6   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น   ในรูปแบบการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น    ร่วมการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

5.5.1.7      ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน

5.5.1.8  จัดทำเอกสารเผยแพร่  ยกย่อง  เชิดชูเกียรติ เจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ให้การสนับสนุนโรงเรียน  โดยการมอบเกียรติบัตรในโอกาสที่เหมาะสม 

 5.6      อภิปรายผล

            การดำเนินการสร้างและพัฒนานวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   เพื่อศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)  อำเภอพระนครศรีอยุธยา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา  เขต  1  ตามมาตรฐานโรงเรียน 3 ด้าน คือ   ด้านนักเรียน  ด้านการเรียนการสอนและด้านการบริหารจัดการนั้น ได้นำผลมาอภิปราย ดังต่อไปนี้

                 5.6.1   ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของนวัตกรรม  

                             5.6.1.1   ผลที่เกิดกับนักเรียน

           5.6.1.1.1  นักเรียนส่วนใหญ่  มีความพึ่งพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น เข้ามาจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 

                                            5.6.1.1.2  นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความต้องการ  ความถนัด และความถนัด  และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้

                                5.6.1.2   ผลที่เกิดกับครู                                           5.6.1.2.1   โรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)มีวิทยากรจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาช่วยจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนจำนวน  3   คน ทำให้มีอัตรากำลังของครูในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนครบตามความต้องการในการเรียนรู้สำหรับนักเรียน                                              5.6.1.2.2     ลดภาระงานด้านการจัดการเรียนการสอนของครูประจำการได้ในระดับหนึ่งทำให้ครูประจำการมีเวลาว่าง  จากการจัดการเรียนการสอนมาเตรียมการสอน  ปละปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้น                                  5.6.1.3   ผลที่เกิดกับโรงเรียน                                              5.6.1.3.1   โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ตามกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมจากชุมชน  ทุกขั้นตอนของกระบวนการบริหารจัดการโรงเรียน                                      5.6.1.3.2   โรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร) ได้รับการยกย่องชมเชยจากชุมเชยจากชุมชน  ด้านการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ  จากการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน                              5.6.1.4    ผลที่เกิดกับชุมชน                                     5.6.4.1  ผู้นำชุมชน  (กำนัน  ผู้ใหญ่บ้านและเจ้าอาวาส)  มีความพึงพอใจในภาพรวมของการบริหารโรงเรียนระดับมากที่สุด                                                เมื่อพิจารณารายด้านแล้ว  ผู้นำชุมชน  (กำนัน  ผู้ใหญ่บ้านและเจ้าอาวาส) พึงพอใจ   ด้านผู้เรียนเป็นอันดับแรก รองลงมาคือด้านครูและอันดับ 3 คือ ด้านนักเรียน ซึ่งทั้ง 3 ด้าน มีค่า    ความพึงพอใจมากที่สุดทุกด้าน                  ผลปรากฏที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าการ ด้วยวิธีการการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   สามารถนำพาไปสู่เป้าหมายได้จริง ทุกด้านจึงเป็น  ที่พอใจของผู้นำชุมชน  (ผู้ใหญ่บ้านและเจ้าอาวาส)  ระดับมากที่สุด                                  5.6.4.2  กรรมการสถานศึกษา  มีความพึงพอใจในภาพรวมของ การบริหารโรงเรียนระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณารายด้านแล้ว  กรรมการสถานศึกษา  พึงพอใจด้านผู้เรียน   เป็นอันดับแรก  รองลงมาคือด้านครูและอันดับ  3  คือ ด้านนักเรียน ซึ่งทั้ง  3  ด้าน มีค่าความพึงพอใจมากที่สุดทุกด้าน                               5.7   ข้อเสนอแนะ            5.7.1   ข้อเสนอแนะทั่วไป

                         5.7.1.1   ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาครั้งนี้ทำให้ได้การพัฒนานวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   สู่ความสำเร็จ     โดยมีองค์ประกอบสำคัญ  4  ประการ คือ

                       5.7.1.1.1    ผู้บริหารควรยึดความถนัด  ความต้องการในการเรียนรู้ และศักยภาพนักเรียน

                       5.7.1.1.2   ความพร้อมของภูมิปัญญาท้องถิ่น

                       5.7.1.1.3    ความต้องการพัฒนาการของท้องถิ่น                                                                    5.7.1.1.4  ผลกระทบ  การบริหารการศึกษา มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ ผู้เรียน               จะคิดจะทำอะไรจะต้องนึกถึงผู้เรียนก่อนเสมอว่า การกระทำแต่ละครั้งมีผลส่งถึงเด็กหรือไม่                                     5.7.2  ข้อเสนอแนะในการจัดทำงานวิจัยและพัฒนาครั้งต่อไป

                        การวิจัยครั้งนี้ ทำให้มองเห็นแนวทางที่จะทำงานวิจัย และพัฒนาให้เกิดต่อการบริหารงานการศึกษาได้หลากหลายเรื่อง หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหาร ได้จัดทำผลงานวิจัยและพัฒนาทั้งทำรายบุคคลหรือทำเป็นกลุ่ม จะทำให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรม เพื่อ                     การบริหารงานอีกจำนวนไม่น้อย ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารการศึกษาอย่างมากการวิจัยเรื่องการใช้นวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ สรุปได้ดังนี้

  5.2    ความสำคัญของปัญหา

5.1.1    โรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร) เป็นโรงเรียนขนาดเล็กมีครูไม่ครบชั้นเรียน

       5.1.2     ครูของโรงเรียนขาดทักษะและความชำนาญการในสาขาวิชาที่จำเป็นตามความของนักเรียน   ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา  และหลักสูตร

5.2.3           ต้องพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะตามความต้องการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

5.2.4           ชุมชุนต้องการให้โรงเรียนพัฒนาไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ5.3       วัตถุประสงค์

         5.2.1  เพื่อสร้างและพัฒนาคุณภาพของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

         5.2.2  เพื่อศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร) ตำบลบ้านรุน อำเภอพระนครศรีอยุธยา ตามมาตรฐานโรงเรียน 3  ด้าน  คือ ด้านนักเรียน  ด้านการเรียนการสอน  และด้านการบริหารจัดการ

5.3  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

         5.3.2  ประชากรที่ใช้ในการศึกษา

                          ประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่  ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)   อำเภอพระนครศรีอยุธยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกพระนครศรีอยุธยา เขต 1 จำนวน  80  คน

5.3.3  กลุ่มตัวอย่าง                            ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามผู้นำชุมชน   5    คน โรงเรียน ผู้ปกครอง   26  คน  คณะกรรมการสถานศึกษา  9   คน  นักเรียน   จำนวน    40  คน 5.4   เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามผล

          ใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นเอง  จำนวน  1  ฉบับ  เป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัด  3  ระดับ   ซึ่งเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

 ดังนี้

             5.4.1  การนำภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาร่วมจัดกิจกรรมการสอนในโรงเรียน ตามหลักสูตร ประถมศึกษา   พุทธศักราช  2544            5.4.2   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1-6   ทุกคน 5.5  สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการ  การสร้างการนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ

  เป้าหมายการดำเนินงานและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กับผู้เรียน

           ตอนที่  1  ข้อมูลทั่วไป          ผู้นำชุมชุน ผู้ปกครอง  นักเรียนของโรงเรียนโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามผู้นำชุมชน   5    คน โรงเรียน ผู้ปกครอง   20  คน  คณะกรรมการสถานศึกษา  9   คน  นักเรียน   จำนวน    40  คน

          ตอนที่  2  ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำหลักการ  แนวคิด  และแนวปฏิบัติมาใช้เป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพของนวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   สรุปได้ดังนี้

             5.5.1    ความเหมาะสมและความเป็นไปได้                          5.5.1.1   ใช้กระบวนการบริหาร  แบบมีส่วนร่วม และแนวทางการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนการสอนของบังอร  พงษ์ประยูร  8  ขั้นตอนในภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษา 2545  คือ

5.5.1.2  สำรวจ  ค้นคว้า และศึกษาแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นข้อมูลของโรงเรียน  

5.5.1.3   กำหนดแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน เช่น การวางแผนปฏิบัติงาน โครงการ      กำหนดเวลา งบประมาณ  บุคลากร สถานที่ดำเนินการ                  5.5.1.4    ติดต่อประสาน เพื่อขอความสนับสนุน  กับหน่วยงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง                        5.5.1.5    ปรับกิจกรรมให้สามารถใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ เช่น จัดทำหลักสูตร กำหนดการสอน  แผนการสอน ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดทำเครื่องมือในการวัดผล ประเมินผล

                       5.5.1.6   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น   ในรูปแบบการนำ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น    ร่วมการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน

5.5.1.9      ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน

5.5.1.10    จัดทำเอกสารเผยแพร่  ยกย่อง  เชิดชูเกียรติ เจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ให้การสนับสนุนโรงเรียน  โดยการมอบเกียรติบัตรในโอกาสที่เหมาะสม  5.7      อภิปรายผล

            การดำเนินการสร้างและพัฒนานวัตกรรมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ   เพื่อศึกษาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดไก่เตี้ย(วิทยสุนทร)  อำเภอพระนครศรีอยุธยา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา  เขต  1  ตามมาตรฐานโรงเรียน 3 ด้าน คือ   ด้านนักเรียน  ด้านการเรียนการสอนและด้านการบริหารจัดการนั้น ได้นำผลมาอภิปราย ดังต่อไปนี้

                 5.6.1   ความเหมาะสมและความเป็นไป
หมายเลขบันทึก: 121239เขียนเมื่อ 22 สิงหาคม 2007 11:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 12:45 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

รายงานการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการ ปี 2550

ข้อมูลรายงานการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนางานวิชาการปี 2550

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท