การประชุม KM FACILATER ครั้งที่ 1 จังหวัดปัตตานี


KM FA

   ฉบับร่าง

การประชุมการจัดการความรู้ ทีมนำคุณภาพครั้งที่ 1  จังหวัดปัตตานี

ณ ห้องราชาวดี

วันที่ 7  พฤศจิกายน 2548

เริ่มประชุม  13.30 น.

วาระที่  1  การบรรยายเรื่อง Knowledeg management

นายแพทย์เดชา แซ่หลี  ได้บรรยายเกี่ยวกับการจัดการความรู้  ( Knowledge  Management ) ที่ได้เรียบเรียงมาจากหนังสือการจัดการความรู้ ฉบับมือใหม่หัดขับ  ของ อาจารย์ ประพนธ์ ผาสุขยืด  ซึ่งเอกสารดังกล่าวได้ทำการสำเนาให้กับทีมนำคุณภาพ ( FA )ข องแต่ละโรงพยาบาลไว้แล้ว   ดังนั้นขอให้ทีม FA นำไปศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ทราบถึงวิธีการและขั้นตอนในการจัดการความรู้ ( KM ) ต่อไป

วาระที่ 2  การคัดเลือกผู้ดำเนินการจัดการความรู้

                มติที่ประชุมได้มอบหมายให้ นายแพทย์เดชา  แซ่หลี  เป็นประธานการนำประชุม (คุณเอื้อ )โดยมีคุณวิไลวรรณ ชัยรัตนมโนกร และ นายสันติ เบ็ญอาบัส เป็นเลขาจดบันทึกการประชุม ( คุณลิขิต )

วาระที่ 3 การเล่าเรื่องจาก FA แต่ละโรงพยาบาลในหัวข้อ

-          ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน HA

-          กิจกรรมคุณภาพที่ภาคภูมิใจ

-          ความต้องการสนับสนุนจาก พรพ.

โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้

   

โรงพยาบาล

ปัญหาและอุปสรรค

สิ่งที่ภาคภูมิใจ

ความต้องการสนับสนุน

ปะนาเระ

- หน่วยงานไม่มีความรู้

- ขาดการติดตามจากทีม FA

- เพิ่งจัดตั้งทีม RM

- ห้องยาขาดพี่เลี้ยง

 -สับสนในการใช้เกณฑ์มาตรฐานต่างๆที่มี กับ มาตรฐานตาม HA

- คลินิก DM

- คลินิก Easy asthma

- การดูแลมารดาหลังคลอด และ ผดบ.

- Medication error

- แกนนำในการให้ความรู้

- มีพี่เลี้ยงอย่างต่อเนือง

แม่ลาน

- ขาดความต่อเนื่อง

- ทีม FA ขาดความเข้าใจ

- บุคลากรมีน้อย ภาระงานมาก

- บางทีมขาดความชัดเจน

- ปัญหาชายแดนใต้

- ขาดความเชื่อมโยง CQI กับเป้าหมายที่วางไว้ และงานประจำกับงานคุณภาพ

- ทำกิจกรรม CQI เป็นประจำ

- ทบทวน 12 กิจกรรม

- แนะนำความเชื่อมโยง CQI กับเป้าหมายที่วางไว้ และงานประจำกับงานคุณภาพ
ยะรัง

- ทำกิจกรรมฉพาะ ฝ่ายการพยาบาล

- ทบทวน 12 กิจกรรมทางคลินิกเป็นส่วนใหญ่

- เก็บข้อมูลแต่ไม่ได้นำมาวิเคราะห์

- องค์ความรู้ในการพัฒนา HA

ทุ่งยางแดง

-QMR และ FA ภาระงานมาก  และยังขาดความกะตือรือร้น

- องค์แพทย์ไม่เข้มแข็ง

- หน่วยสนับสนุนไม่เข้าใจบทบาท

- เจ้าหน้าที่ยังไม่เปิดใจพัฒนา และยังม่ตระหนักถึงงานคุณภาพ

- ขาดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่สำคัญ

- ทีมคร่อมสายงานไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ และการเชื่อมโยงงานเข้าด้วยกัน

- ขาดการจัดเก็บข้อมูล  และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ

- การจัดการเกี่ยวกับระบบยา เช่น one day dose , Medication error , APR

- การดูแลหลังคลอด และ ผดบ.

- แนะวิธีการทำแบบประเมินตนเอง

- สำรวจและให้คำแนะนำปรึกษา  ( ICV )

ไม้แก่น

- ทีม FA ไม่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง

ขาดความต่อเนื่อง  ไม่มีเวลา

- การประชุมต่อเนื่อง  การติดตามงานต่อเนื่อง

- การจัดระบบยา , discharge coulseling

- การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านต่างๆ

- back office ไม่ค่อยรู้เรื่อง HA

โรงพยาบาล

ปัญหาและอุปสรรค

สิ่งที่ภาคภูมิใจ

ความต้องการสนับสนุน

สายบุรี

- ไม่ได้รับการ ICV

 - ต่างคนต่างทำขาดการเชื่อมโยง

- ผู้ปฏิบัตีระดับล่าง ยังไม่เข้าใจ

 และไม่ค่อยมีส่วนร่วม

- ไม่ค่อยเข้าใจคำถามในแบบประเมินตนเอง

- back officeรุ้สึกว่าไม่มีบทบาท

- งาน IC

- ME

- Drug alert

- ได้รับการ ICV

มายอ

-ไม่สามารถผนวกงานประจำให้เป็นกิจกรรม HA

- หัวหน้างานขาดความตระหนัก

- ขาดความเชื่อมโยงของทีมคร่อมสายงาน
- แนะนำ เทคนิคการทำ HA กับงานประจำให้ง่ายขึ้น
โคกโพธิ์

- back office  ไม่มีความรู้

- บูรณาการงานคุณภาพเข้าด้วยกัน  ใช้ตัวชี้วัดเดียวกัน

- มี clinical tracer ทุกหน่วยงาน

- การได้ที่ 1 ใน การประกวด oral presentation และ board presentation ในงานมหกรรมคุณภาพ จังหวัดปัตตานี

 

ยะหริง

-วัฒนธรรมการทำงาน ไม่บูรณาการให้เข้ากับงานประจำ

- ไม่ดูแลผู้ป่วยเป็นองค์รวมอย่างชัดเจน

-การถ่ายทอดจากหัวหน้างาน และการสื่อสารในหน่วยงาน ยังไม่เข้าใจกัน

- FA ไม่ค่อยแสดงความคิดเห็น

- IS ไม่ต่อเนื่อง

- CQI เป็นเฉพาะหน่วยงาน

-ขาดการประเมินผลของทีมต่างๆ

-

-ปรับปรุงแบบประเมินตนเอง

โรงพยาบาล

ปัญหาและอุปสรรค

สิ่งที่ภาคภูมิใจ

ความต้องการสนับสนุน

ปัตตานี

-หัวหน้าประชุมบ่อยและไม่สามารถนำผลจากการประชุมไปใช้ประโยชน์ได้

- ทีมงานมองระบบไม่ชัดเจน

- ภาระงานเยอะ

- ทีมงานไม่สมัครใจ

- รูปแบบการจัดการ RM

                  

วาระที่4 สรุปประเด็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

         

                                 ประเด็นที่เป็นปัญหาในการพัฒนาคุณภาพ  HA ในภาพรวม  ของจังหวัดปัตตานี

คือ          -  ขาดความต่อเนื่อง

- ขาดความรู้

- ขาดความเชื่อมโยง

-          ทีมสนับสนุนยังไม่เข้าใจบทบาท

ความต้องการสนับสนุนจาก  พรพ.  คือ  ต้องการให้อาจารย์ช่วยสอนในเรื่องของ

1.     back office  หรือ non clinic

2.     การจัดการความเสี่ยง  ( RM )

3.     เทคนิคในการเชื่อมโยงกิจกรรมและงานคุณภาพ

วาระที่ 5  ตารางการแลกเปลี่ยนความรู้และคำแนะนำจากอาจารย์ผ่องพรรณ ธนา

                    

ครั้งที่

เช้า

บ่าย

1

 Present   ความก้าวหน้าในการพัฒนางาน HA แต่ละโรงพยาบาล

เทคนิคการตอบแบบประเมินตนเอง

2.

การทบทวน 12 กิจกรรม

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

3.

การจัดการความเสี่ยง ( RM )

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

4.

การดูแลผู้ป่วยโดยทีม PCT

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

5.

Back  office

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

6.

CQI tracer

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

วาระที่ 6  กำหนดการประชุม KM  ของทีมประสานงานคุณภาพ

                                การประชุมครั้งต่อไปในวันที่ 7 ธันวาคม 2548  เวลา 13.30 น - 16.00 น. ให้แต่ละโรงพยาบาลเตรียมเนื้อหาในการแลกเปลี่ยนความรู้ ในเรื่องของการ empower ทีม fa โรงพยาบาลละ  5 นาที

ปิดการประชุม 16.00 น.

ผู้บันทึกการประชุม   นางสาววิไลวรรณ ชัยรัตนมโนกร และ นายสันติ เบ็ญอาบัส

ผู้ตรวจรายงานการประชุม   นายแพทย์ เดชา แซ่หลี

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 12014เขียนเมื่อ 12 มกราคม 2006 15:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 มิถุนายน 2012 11:24 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท