การจัดการความรู้ในสถานศึกษา:10


ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (CoP) เป็นกิจกรรมเริ่มต้นอีกกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการ KM ที่มีกิจกรรมหลายประการที่จะต้องดำเนินการทั้งในส่วนที่อาจเรียกว่าเป็นมิติของการบังคับและในส่วนที่เป็นมิติของการส่งเสริม ส่วนที่เป็นมิติการบังคับ คือ การที่จะต้องดำเนินการ KM ในฐานะตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง พ.ศ. 2546 ในส่วนที่เป็นมิติของการส่งเสริมคือ การดำเนินการ KM ในฐานะที่เป็นตัวขับเคลื่อน องค์กรสู่ความเป็นองค์กรคุณภาพ “องค์กรแห่งการเรียนรู้”

แนวทางการสราง CoP ในโรงเรียน

 CoP เปนชุมชนที่มีการรวมตัวกัน เพื่อที่จะทำงานดวยกัน มีเปาหมายรวมกัน และมีความตองการที่จะแลกเปลี่ยนความรูประสบการณจากการทำงานรวมกัน ซึ่งในโรงเรียนนั้นอาจเกิดจากการที่ครูผูสอนที่มีความสนใจในปญหาเรื่องเดียวกัน เชนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ก็ใชวิธีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องดังกลาวรวมกัน เพื่อระดมสมอง และแนวทางการแกไขปญหารวมกัน ทั้งนี้ควรมีแนวทางในการสราง CoP ในองคกรดังนี้            

1. การวิเคราะหและคนหา  โดเมน( Domain)  เปนหัวขอความรูแนวคิด หรือปญหาที่สมาชิกนำมารวมกันแกไขรวมกัน ดวยเปาหมายเดียวกัน เสมือนเป(Knowledge Vision :KV  )โดยเปนหัวขอความรูที่กระทบตอสมาชิกในองคกรในระดับที่รุนแรงพอสมควร เชน ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และนำทฤษฏีการจัดการองคความรู ( KM ) มาสูการปฏิบัติใหเกิดประโยชนแกการปฏิบัติงานจริง            
2. มีการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณในการปฏิบัติงานรวมกัน การระดมความคิด เพื่อหาทางออก มีบรรยากาศของการไววางใจ เปดเผย พรอมที่จะเรียนรูวมกัน เปนเสมือน (Knowledge Sharing:KS)   กระตุนใหเกิดการสื่อสารทั่วองคกร ( Communication ) านการจัดการองคความรูในเรื่องที่ตองการ เชน ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน  เปนต ทั้งนี้การรวมตัวกันดังกลาว เปนชุมชนแหงการเรียนรูหรือมักเรียกวาสังคมแหงการเรียนรู   Learning society โดยอาจดำเนินการ ดังนี้         

  มีการประชาสัมพันธสื่อสารภายในองคกร          
ทำหนังสือเวียน เชิญชวน ขาราชการ ลูกจาง รวมเปนสมาชิกชุมชนแหงการเรียนรู         
เชิญสมาชิกประชุมปรึกษาหารือ รวมคิด รวมทำกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูความรูตามหัวขอที่อยูในความสนใจของสมาชิก          
ประสานงานเรื่องสถานที่ประสานงานบุคคลและงานธุรการอื่น           
จัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูในบรรยากาศที่ไมเปนทางการ          
จัดทำสรุปการเสวนาของ CoPเผยแพรการจัดกิจกรรม กระตุน สงเสริมเปนระยะ ๆ          
ติดตามประเมินผลการดำเนินการและรายงาน  ในขั้นตอนนี้อาจมีการแสวงหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใชในแตละขั้นตอนของการจัดการความรูวย เปนชุมชนเสมือนจากใชประโยชนของเทคโนโลยีเปนชุมชนออนไลนเชInternet ,Intranet ขององคกร              

3. ไดแนวทางปฏิบัติ (Practice ) ที่เปนองคความรูที่เปนผลผลิตของการรวมกลุม รวมชุมชน  เปนเสมือนคลังความรู (Knowledge Assets:KA) เปนการตอยอดความรูนำความรูนั้นมาพัฒนาในรูปแบบตาง ๆที่ทาทาย ซึ่งสมาชิกสามารถนำไปใชประโยชนอตนเองและงาน   

ตัวอยางของ CoP ในปจจุบันของโรงเรียน            
1) การปรึกษา หารือ แลกเปลี่ยนเรียนรูวมกันของคณะครูในแตละชวงชั้นทุกวันพฤหัส เวลา 13.50 น. โดยพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการปกครอง ดูแลนักเรียนในชวงชั้น เพื่อหาทางแกไขปญหานักเรียนรวมกัน โดยเปดโอกาสใหครูที่มีความอาวุโส และมีประสบการณในการสอน เปนผูเลาเรื่อง ถายทอดความรูและประสบการณในการดูแลนักเรียนแกครูที่บรรจุใหมหรือดอยประสบการณ (Storytelling) โดยนำเอาปญหาที่สำคัญ ทุกคนมองเปนเปนปญหารวมกันมาพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรูกัน เชน ปญหานักเรียนหนีเรียน ปญหานักเรียนมาสาย เปนต         
  
2) การแลกเปลี่ยนเรียนรูของคณะครูในกลุมสาระวิชาต่าง ๆ ในแต่ละสัปดาห์ เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน หรือนำความรูใหมๆ ทักษะทางดานจัดการเรียนรู้ของครูผูสอนมาแลกเปลี่ยนเรียนรูวมกัน โดยถือวาความรูของแตละบุคคลเปนความรูของกลุม ซึ่งจะไดแนวทางปฏิบัติ (Practice ) ที่เปนองคความรูที่เปนผลผลิตของการรวมกลุม   

บทสรุป      ชุมชนแหงการเรียนรู (CoP) เปนกิจกรรมเริ่มตนอีกกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการ   KM  ที่มีกิจกรรมหลายประการที่จะตองดำเนินการทั้งในสวนที่อาจเรียกวาเปนมิติของการบังคับและในสวนที่เปนมิติของการสงเสริม สวนที่เปนมิติการบังคับ  คือ  การที่จะตองดำเนินการ KM  ในฐานะตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง พ.ศ. 2546   ในสวนที่เปนมิติของการสงเสริมคือ การดำเนินการ KM ในฐานะที่เปนตัวขับเคลื่อน องคกรสูความเปนองคกรคุณภาพ องคกรแหงการเรียนรู มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและทำใหมีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด      บุคลากรถือไดาเป   ทุนทางสังคม  จึงมีความสำคัญยิ่งตอการเดินทางไปสูเปาหมาย KM  ดังกลาว  การศึกษาเรียนรูเรื่อง KM และการมีสวนรวมอยางแข็งขันในกิจกรรม ของ KM าง ๆ  จะทำใหเกิดสัมฤทธิ์ผล กับงานดานการจัดการความรูที่รับผิดชอบเชนเดียวกับงานอื่น ๆ ที่ผานเขามาและสำเร็จผลลงดวยดี เกิดคุณคาประโยชนแกตนเอง งาน และองคกรไปพรอมกัน 

หมายเลขบันทึก: 119753เขียนเมื่อ 15 สิงหาคม 2007 11:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 19:55 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท