ข้าวเกรียบว่าว


เว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

สวัสดีค่ะ 
          
หลังจากที่เพื่อนๆได้จัดทำโครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี ในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้น ม. 6 โรงเรียนอุทัยวิทยาคม มาแล้วในภาคเรียนที่ 1 ซึ่งเป็นระยะที่ 1(วางแผนโครงงาน) และ 2 (ลงภาคสนาม,รวบรวมข้อมูล และจัดทำเว็บไซต์) ส่วนในภาคเรียนที่ 2 นี้เป็นระยะที่ 3 ที่กลุ่มของข้าพเจ้าจะต้องนำเสนอเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นให้เพื่อนๆ ประเมินในชั้นเรียน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานซึ่งกันและกัน  ส่วนในบล็อกข้าวเกรียบว่าว ขอเชิญชวนให้เพื่อนๆหรือผู้สนใจทุกท่านบอกเล่าถึงสิ่งที่ได้รับจากการไปศึกษาหรือสอบถามข้อมูลจากบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นมานำเสนอในประเด็นต่อไปนี้
           1. ข้อคิดหรือคติในการทำงานของบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น
          
2. เพื่อนๆจะนำคุณธรรมที่ได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไร
          
3. เทคโนโลนีพื้นฐานหรือเทคโนโลยีพื้นบ้าน  ที่บุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ในการสร้างงานคือ

          
4. เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ควรนำมาใช้พัฒนางานอาชีพที่ศึกษา  ตามความคิดจินตนาการของเพื่อนๆ  คือ
          
5. ถ้าเพื่อนๆเป็นเจ้าของกิจการในเรื่องที่ศึกษา  เพื่อนๆจะพัฒนางานให้ดีขึ้นได้อย่างไร
           6. ข้อคิดเห็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง


คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 10206เขียนเมื่อ 20 ธันวาคม 2005 14:30 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:13 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)
นางสาววชีรา ฤทธิชัยนุวัฒน์

1.  ข้อคิดที่ดิฉันได้จากการทำงานของบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น  คือ  การที่เราจะทำงานสิ่งใด  เราต้องมีความมานะ  อดทน  ขยันหมั่นเพียร  แล้วเราจะประสบความสำเร็จในงานนั้น

2.  คุณธรรมที่ได้ดิฉันจะนำมาประยุกต์ใช้ในเรื่องการเรียน  เพราะเวลาเราอ่านหนังสือเราต้องใช้ความอดทนและขยัน  จะทำให้เราได้คะแนนสอบที่ดีๆ

3.  เทคโนโลยีพื้นฐานที่บุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ในการสร้างงาน  ก็คือ  ใช้ของที่เป็นพื้นบ้าน  ใช้มือทำ  ขยำส่วนผสม  ตำข้าวเหนียวเอง  โดยไม่ใช้เคื่องปั้นเคื่องผสม  เครื่องมือเทคโนโลยีใดอื่นเลย  ทำให้ได้รสชาติที่อร่อย

4.  เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะนำมาใช้พัฒนางานอาชีพ  ตามความคิดจินตนาการของดิฉัน คือ  จะทำเตาปิ้งข้าวเกรียบ  เพื่อให้ได้ขนาดและรูปร่างตามมาตรฐาน  เหมือนกันหมด  เมื่อนำมาบรรจุในซองจะได้เรียงกันสวยงาม

5.  ถ้าดิฉันได้เป็นเจ้าของกิจการข้าวเกรียบว่าว  ดิฉันจะพัฒนาให้มีรสชาติที่หลากหลาย  อาจจะมีข้าวเกรียบว่าวรสชาเขียว  มีการผสมของงา  ถั่ว  อัลมอลล์ เพื่อให้ได้รสชาติที่อร่อยยิ่งขึ้น 

นางสาวจุฑากาญจน์ ฤกษ์ดี

1.  ความพากเพียร  ความขยัน  และความอดทนในการทำงานหรือทำสิ่งต่างๆ เพื่อให้ประสบผลสำเร็จ  การมีอัธยาศัยที่ดีต่อบุคคลอื่น

2.  นำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนของตนเอง  ที่ต้องใช้ความขยัน และความอดทนอย่างมาก และยังใช้ได้ในการดำเนินชีวิตประจำวันอีกด้วย

3.  ใช้วิธีการทำแบบดั้งเดิม  เช่น การตำข้าวเหนียวยังใช้ครกใบใหญ่ๆในการตำ

4.  เครื่องมือที่ช่วยในการตำข้าวเหนียวให้ได้ปริมาณมากและใช้เวลาน้อย

5.พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยการเพิ่มรสชาติให้หลากหลาย  เพิ่มสีสัน  และคุณค่าทางอาหาร

       หลังจากที่ดิฉันได้จัดทำโครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ทำให้ได้รับความรู้และข้อคิดมากมายจากบูคคลภูมิปัญญาท้องถิ่น  ในการทำข้าวเกรียบว่าว  การทำเว็บไซต์และยังได้รู้จักการทำงานกันเป็นกลุ่มอีกด้วย  ข้อคิดที่ดิฉันได้จากการทำงานของบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น  คือ  การที่เราจะทำงานสิ่งใด  เราต้องมีความมานะ  อดทน  ขยันหมั่นเพียร  แล้วเราจะประสบความสำเร็จในงานนั้น

     คุณธรรมที่ได้ดิฉันจะนำมาประยุกต์ใช้ในเรื่องการเรียน  เพราะเวลาเราอ่านหนังสือเราต้องใช้ความอดทนและขยัน  จะทำให้เราได้คะแนนสอบที่ดีๆ

     เทคโนโลยีพื้นฐานที่บุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ในการสร้างงาน  ก็คือ  ใช้ของที่เป็นพื้นบ้าน  ใช้มือทำ  ขยำส่วนผสม  ตำข้าวเหนียวเอง  โดยไม่ใช้เคื่องปั้นเครื่องผสม  เครื่องมือเทคโนโลยีใดอื่นเลย  ทำให้ได้รสชาติที่อร่อย

     เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะนำมาใช้พัฒนางานอาชีพ  ตามความคิดจินตนาการของดิฉัน คือ  จะทำเตาปิ้งข้าวเกรียบ  เพื่อให้ได้ขนาดและรูปร่างตามมาตรฐาน  เหมือนกันหมด  เมื่อนำมาบรรจุในซองจะได้เรียงกันสวยงามและ

    ถ้าดิฉันได้เป็นเจ้าของกิจการข้าวเกรียบว่าว  ดิฉันจะพัฒนาให้มีรสชาติที่หลากหลาย  อาจจะมีข้าวเกรียบว่าวรสชาเขียว  มีการผสมของงา  ถั่ว  อัลมอลล์ เพื่อให้ได้รสชาติที่อร่อยยิ่งขึ้น 

นางสาววชีรา ฤทธิชัยนุวัฒน์
     หลังจากที่ดิฉันได้จัดทำโครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ทำให้ได้รับความรู้และข้อคิดมากมายจากบูคคลภูมิปัญญาท้องถิ่น  ในการทำข้าวเกรียบว่าว  การทำเว็บไซต์และยังได้รู้จักการทำงานกันเป็นกลุ่มอีกด้วย  ข้อคิดที่ดิฉันได้จากการทำงานของบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น  คือ  การที่เราจะทำงานสิ่งใด  เราต้องมีความมานะ  อดทน  ขยันหมั่นเพียร  แล้วเราจะประสบความสำเร็จในงานนั้น

     คุณธรรมที่ได้ดิฉันจะนำมาประยุกต์ใช้ในเรื่องการเรียน  เพราะเวลาเราอ่านหนังสือเราต้องใช้ความอดทนและขยัน  จะทำให้เราได้คะแนนสอบที่ดีๆ

     เทคโนโลยีพื้นฐานที่บุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่นใช้ในการสร้างงาน  ก็คือ  ใช้ของที่เป็นพื้นบ้าน  ใช้มือทำ  ขยำส่วนผสม  ตำข้าวเหนียวเอง  โดยไม่ใช้เคื่องปั้นเครื่องผสม  เครื่องมือเทคโนโลยีใดอื่นเลย  ทำให้ได้รสชาติที่อร่อย

     เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะนำมาใช้พัฒนางานอาชีพ  ตามความคิดจินตนาการของดิฉัน คือ  จะทำเตาปิ้งข้าวเกรียบ  เพื่อให้ได้ขนาดและรูปร่างตามมาตรฐาน  เหมือนกันหมด  เมื่อนำมาบรรจุในซองจะได้เรียงกันสวยงามและ

    ถ้าดิฉันได้เป็นเจ้าของกิจการข้าวเกรียบว่าว  ดิฉันจะพัฒนาให้มีรสชาติที่หลากหลาย  อาจจะมีข้าวเกรียบว่าวรสชาเขียว  มีการผสมของงา  ถั่ว  อัลมอลล์ เพื่อให้ได้รสชาติที่อร่อยยิ่งขึ้น 

นายสุทัศน์ ลือทุกสิ้น ม6/1 เลขที่ 14

ข้าวเกรียบว่าวเป็นผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่คิดค้นมาจากภูมิปัญญาชาวบ้านนำมาทำเป็นขนมที่แสนอร่อยเอาไว้กินยามว่างได้ทุกเวลา เป็นขนมโบราณที่มีวิธีการทำดั่งเดิมเน้นความเป็นภูมิปัญญามาก ทุกอย่างบรรจงทำอย่างระเอียดเพื่อขนมออกมาอร่อย รสชาติเป็นธรรมชาติมากที่สุด ข้าวเกรียบว่าวเป็นขนมที่เป็นแผ่นบางๆ กรอบมาก กัดเข้าไปจะรู้สึกถึงรสหวานแบบนิดๆที่ซึมซาบเข้าไปในลำไส้ เมื่อทานเข้าไปคำแรกจะชวนให้กินต่ออย่างอร่อย เป็น

เป็นความรู้สึกที่บอกไมถูก

นางสาวจุฑากาญจน์ ฤกษ์ดี

     หลังจากที่ได้ไปศึกษาหาข้อมูลในการทำเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี  ทำให้ได้รับความรู้และข้อคิดมากมายจากบุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่น  ข้อคิดที่ได้ก็คือ   ความพากเพียร  ความขยัน  และความอดทนในการทำงานหรือทำสิ่งต่างๆ เพื่อให้ประสบผลสำเร็จ  การมีอัธยาศัยที่ดีต่อบุคคลอื่น

      ข้อคิดที่ได้สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนของตนเอง  ที่ต้องใช้ความขยัน และความอดทนอย่างมาก และยังใช้ได้ในการดำเนินชีวิตประจำวันอีกด้วย

     เทคโนโลยีพื้นบ้านใช้วิธีการทำแบบดั้งเดิม  เช่น การตำข้าวเหนียวยังใช้ครกใบใหญ่ๆในการตำ

     เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นำมาใช้คือเครื่องมือที่ช่วยในการตำข้าวเหนียวให้ได้ปริมาณมากและใช้เวลาน้อย

     และถ้าเป็นเจ้าของกิจการจะพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยการเพิ่มรสชาติให้หลากหลาย  เพิ่มสีสัน  และคุณค่าทางอาหาร

นางสาวกนกพร ลิ้มอ่อง

  ข้อคิดหรือคติในการทำงานของบุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้คือ ในการทำงานอะไรนั้นเราต้องมีใจรักในงานนั้นจริง ๆ ต้องมีความอดทน พยายามที่จะทำงานนั้นให้สำเร็จ ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่ได้เจอ

  คุณธรรมที่ดิฉันได้รับนี้ก็สามารถนำมาปรับใช้กับตัวดิฉันได้ในเรืองการเรียนที่ต้องมีความอดทน และก็พยายามในการอ่านหนังสือ ถ้าหากว่าตัวเองเรียนไม่รู้เรืองก็ต้องไม่ย่อท้อ

  เทคโนโลยีพื้นบ้านที่ใช้ในการทำผลิตภัณฑ์ก็คือ ในการทำข้าวเกรียบว่าวจะต้องนำข้าวเหนียวมาตำในครกตำข้าวแบบโบราณ ใช้วัสดุที่เป็นของพื้นบ้าน เช่นพวกใบตอง

  เทคโนโลยีที่ดิฉันจะนำมาปรับปรุงผลิตภัฑ์ คือจะนำเครื่องที่สามารถบดข้าวเหนียวให้ละเอียดได้โดยที่ใช้เวลาน้อยและได้ครั้งละมากๆ

  ถ้าดิฉันได้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์เองก็จะผลิตให้ข้าวเกรียบว่าวมีหลายรสชาติ เช่นรสใบเตย ทำให้ผลิตภัณฑ์มีรูปร่างที่แปลกใหม่ออกไป และก็จะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงาม เหมาะแก่การซื้อเป็นของฝากได้

อยากดูตัวอย่างการทำข้าวเกรียบว่าตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ

วิธีการทำ-การสั่งซื้อวัตถุดิบ-ค่าใช้จ่าย-กลุ่มลูกค้า-ช่องทางการจำหน่าย-ระบบควบคุมคุณภาพ

การเก็บรักษา เป็นต้น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท